โรงรับจำนำ ประกาศขายสินค้าฟรี ซื้อขายสินค้าหลุดจำนำ ตั๋วจำนำ

ซื้อ - ขาย แลกเปลี่ยน => ประกาศซื้อ-ขาย สินค้าและบริการทั่วไป ฟรี => ข้อความที่เริ่มโดย: komgrit1989 ที่ มกราคม 01, 2018, 06:04:54 pm

หัวข้อ: รักษาโรคด้วยสมุนไพร
เริ่มหัวข้อโดย: komgrit1989 ที่ มกราคม 01, 2018, 06:04:54 pm
พลูคาว (Plu Kaow) ชื่อวิทยาศาสตร์ Houttuynia cordata Thunb. จัดอยู่ในวงศ์ผักคาวตอง (SAURURACEAE (https://medthai.com/tag/SAURURACEAE/))พลูคาว เป็นไม้ล้มลุก พบได้ทั่วไปในแถบทวีปเอเชียในแถบเทือกเขาหิมาลัยไปจนถึงเวียดนาม ญี่ปุ่น รวมถึงไทยด้วย เป็นที่รู้จักกันดีในทางภาคเหนือเนื่องจากลักษณะของต้นที่มีกลิ่นคาวจึงเรียกกันในท้องถิ่นว่า ผักคาวตอง (ลำปาง, อุดรธานี) คาวทอง (อุตรดิตถ์, มุกดาหาร) ผักก้านตอง (แม่ฮ่องสอน) ผักคาวปลาผักเข้าตองผักคาวตอง (ภาคเหนือ) ส่วนภาคกลางมักจะนิยมเรียกว่า พลูคาวสรรพคุณของพลูคาว
[img width=200,height=233]https://medthai.com/wp-content/uploads/2013/07/Plu-Kaow-2.jpg[/img]
[/color]วิธีใช้ทั้งต้นแห้งประมาณ 15-30 กรัม (ต้นสด 30-60 กรัม) นำมาแช่น้ำทิ้งไว้ประมาณ 3 นาที แล้วนำมาต้มน้ำให้เดือดประมาณ 5 นาทีแล้วนำมาดื่ม แต่หากใช้ร่วมกับสมุนไพรหรือยาชนิดอื่น ให้ต้มยาอื่นให้เดือดก่อนจึงใส่ยา ต้มให้เดือด การรับประทานถ้ามากเกินไปอาจจะทำให้หัวใจเต้นสั้นและถี่ อาจเป็นอันตรายได้
โกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้)
สรรพคุณ / ประโยชน์ของโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้)
ความสำคัญของผลโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้)(https://s4.postimg.org/zbuzi93p9/1340290887.jpg)
    ผลโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) เป็นที่รู้จักกันอย่างดีในแถบเอเชียว่าเป็นอาหารที่อุดมไปด้วยคุณค่าด้านสารอาหารมากที่สุด ผลโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) ใช้เป็นส่วนประกอบที่สำคัญทางยาจีนแผนโบราณซึ่งได้มีการบันทึกในประวัติศาสตร์จีนเกือบ 2,000 ปี จากตำนานที่ไม่มีการบันทึกไว้เป็นหลักฐานพบว่า โกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) เป็นพืชโบราณที่มีอายุมากว่าที่จดบันทึกไว้ราว 2,800 ปี ก่อนพุทธกาล
     ผลโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) เป็นที่นิยมในประเทศในประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอื่นๆ ในระดับแนวหน้าอุตสาหกรรมรมอาหารระดับโลก เพราะผลโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) อุดมไปด้วยคุณค่าด้านสารอาหารและการต่อต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant)
     โกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) มีพลังแอนตี้ออกซิแดนซ์ (ต่อต้านอนุมูลอิสระจากการทำลายเซลล์และชะลอความชรามากที่สุดในโลก)
สรรพคุณ และ ประโยชน์ของโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) ได้แก่
   1. ประกอบด้วยกรดอะมิโน 19 ชนิด (ปกติมี 20 ชนิด) แต่มีกรดอะมิโนครบทั้ง 9 ชนิด
   2. มีแร่ธาตุที่ร่างกายต้องกายในปริมาณน้อย รวม 21 ชนิด ที่สำคัญได้แก่ สังกะสี เหล็ก ทองแดง แคลเซี่ยม ฟอสฟอรัส ซิลีเนียม และเจอร์มาเนียม ฯลฯ
   3. มีวิตามินซีสูงกว่าส้ม 500 เท่า (เป็นพืชที่มีวิตามินิซีสูงเป็นอันดับสอง รองจาก คามู คามูเบอร์รี่)
   4. มีวิตามิน บี1 บี2 บี6 และวิตามินอี
   5. มีสารโพลี่แซคคาไรด์ 4 ชนิด : LBP-1, LBP-2, LBP-3, LBP-4      - ช่วยทำให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายอยู่ในสภาวะสมดุลดี      - ช่วยปรับความดันโลหิตให้ปกติ      - ช่วยให้น้ำตาลในเลือด และอินซูลินอยู่ในสภาวะสมดุล      - ช่วยลดน้ำหนัก โดยเสริมการเปลี่ยนอาหารให้เป็นพลังงานแทนไขมัน      - ช่วยฟื้นฟูสภาพเซลล์ที่ถูกทำลายจากสารเคมีหรือรังสีให้สู่ปกติได้เร็วขึ้น
   6. มีสารเจอร์มาเนี่ยม Germanium : Ge ที่อยู่ในสภาพอินทรีย์ (organic) ช่วยฆ่าเซลล์มะเร็ง 
   7. มีสารซิแซนทิน(Zeaxanthin) มีสูงถึง162 มก./100 กรัมสูงกว่าสาหร่ายเกลียวทองประมาณ 5 เท่า       - ช่วยบำรุงสายตา และป้องกันแสงสีน้ำเงินที่ทำลายดวงตา       - ช่วยผู้มีอาการ ต้อลม ตาพร่า ตามัว ให้คืนสู่สภาพปกติ
   8. เบต้า - ไซโตสเตอรอล (Beta - sitosterol)       - ช่วยลดคอเลสเตอรอลโดยการดูดซึมที่ลำไส้       - ช่วยลดอาการต่อมลูกหมากโต       - ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพน้ำอสุจิให้แข็งแรง
   9. ไซเพอโรน (Cyperone) ช่วยให้หัวใจและความดันทำงานได้ปกติ
  10. ไฟซาลิน (Physalin) ช่วยกำจัดโรคร้าย ลิวคีเมีย (Leukemia)
  11. บีรเทน (Betaine) เป็นสารประกอบที่ให้ตับใช้ ผลิตโคลีนซึ่งเป็นสารประกอบที่        - ช่วยให้มีความจำดี        - ช่วยกระตุ้นให้กล้ามเนื้อเจริญเติบโต        - ช่วยป้องกันโรคตับ
  12. สารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant) ที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดในบรรดาผักและผลไม้อื่นๆ คือ มีค่า ORAC สูง 25,300 unite
       จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นคุณสามารถดื่มน้ำโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) เพื่อรักษาและป้องกันอาการต่างๆ ได้ เพราะน้ำโกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) ก็คือ น้ำผลไม้ไม่ใช่ยา ไม่มีผลข้างเคียง ชาวจีนใช้กันมาเป็นเวลายาวนานกว่า 3,000 ปี
  เถาวัลย์เปรียง

เถาวัลย์เปรียงเถาวัลย์เปรียง ชื่อสามัญ Jewel vine[1],[3],[6]เถาวัลย์เปรียง ชื่อวิทยาศาสตร์ Derris scandens (Roxb.) Benth. จัดอยู่ในวงศ์ถั่ว (FABACEAE (https://medthai.com/tag/FABACEAE/) หรือ LEGUMINOSAE (https://medthai.com/tag/LEGUMINOSAE/)) และอยู่ในวงศ์ย่อยถั่ว FABOIDEAE (https://medthai.com/tag/FABOIDEAE/) (PAPILIONOIDEAE (https://medthai.com/tag/PAPILIONOIDEAE/) หรือ PAPILIONACEAE (https://medthai.com/tag/PAPILIONACEAE/))[1],[3],[6]สมุนไพรเถาวัลย์เปรียง มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า เครือตาปลา เครือไหล (เชียงใหม่), เครือตับปลา (เลย), เถาตาปลา เครือเขาหนัง ย่านเหมาะ (นครราชสีมา), พานไสน (ชุมพร), เครือตาป่า เครือตับปลา เครือเขาหนัง เครือตาปลาโคก (หากเกิดบนบก) เครือตาปลาน้ำ (หากเกิดในที่ลุ่ม) (ภาคอีสาน), เถาวัลย์เปรียงขาว เถาวัลย์เปรียงแดง (ภาคกลาง), ย่านเหมาะ ย่านเมราะ (ภาคใต้) เป็นต้น[1],[4],[5],[6],[11]ลักษณะของเถาวัลย์เปรียง[img width=570,height=416]https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/03/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg[/img][img width=570,height=331]https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/03/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg[/img][img width=570,height=394]https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/03/%E0%B9%83%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg[/img][img width=570,height=398]https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/03/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg[/img][img width=570,height=412]https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/03/%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg[/img][img width=570,height=320]https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/03/%E0%B8%9D%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg[/img]สรรพคุณของเถาวัลย์เปรียงตังถั่งเช่า (冬蟲草; dong chong cao)