ผู้เขียน หัวข้อ: กฎหมายอาญาสำหรับนักรัฐศาสตร์ เกียรติศักดิ์ ตันติจริยาพันธ์  (อ่าน 403 ครั้ง)

attorney285

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6360
    • ดูรายละเอียด
กฎหมายอาญาสำหรับนักรัฐศาสตร์ เกียรติศักดิ์ ตันติจริยาพันธ์
 


ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://attorney285.com/product.detail_571709_th_7059591

กฎหมายอาญาสำหรับนักรัฐศาสตร์ เกียรติศักดิ์ ตันติจริยาพันธ์
ผู้แต่ง : เกียรติศักดิ์ ตันติจริยาพันธ์
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 3 : กรกฎาคม 2560
จำนวนหน้า: 218 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
 
หลักทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายอาญา การใช้กฎหมายอาญา โครงสร้างการรับผิดในทางอาญา การการะทำครบองค์ประกอบที่กฎหมายบัญญัติเป็นความผิด การสำคัญผิดในบางกฎหมายอาญา การกระทำมีกฎหมายยกเว้น การกระทำนั้นมีกฎหมายยกเว้นโทษ เหตุลดโทษหรือเหตุบรรเทาโทษ การพยายามกระทำความผิด ผู้เกี่ยวข้องในการกระทำความผิดตั้งแต่2คนขึ้นไป การกระทำกรรมเดียว หรือหลายกรรมต่างกัน อายุความ โทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย
 
สารบาญ
 
ส่วนที่ 1 กฎหมายอาญาภาคทั่วไป
บทที่ 1 หลักทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายอาญา
1.1 ความหมายของกฎหมายอาญา
1.2 วิวัฒนาการของกฎหมายอาญา
1.3 สาขาที่เกี่ยวกับกฎหมายอาญา
1.3.1 กฎหมายอาญาสารบัญญัติ
1.3.2 กฎหมายอาญาวิธีบัญญัติ
1.4 ประเภทของความผิดอาญา
1.4.1 การแบ่งประเภทความผิดในแง่ของกฎหมาย
1.4.2 การแบ่งแยกประเภทความผิดในแง่การกระทำ
1.4.3 การแบ่งแยกประเภทความผิดในแง่ของโทษ
1.4.4 การแบ่งแยกประเภทความผิดในแง่ของการดำเนินคดี
1.5 กฎหมายอาญากับกฎหมายแพ่ง
1.6 ข้อแตกต่างระหว่างกฎหมายอาญากับกฎหมายแพ่ง
บทที่ 2 การใช้กฎหมายอาญา
2.1 เอกลักษณ์ของกฎหมายอาญา
2.1.1 กฎหมายอาญาต้องมีบทบัญญัติโดยชัดแจ้ง
2.1.2 ห้ามใช้กฎหมายประเพณีลงโทษทางอาญาแก่บุคคล
2.1.3 กฎหมายอาญาต้องตีความโดยเคร่งครัด
2.1.4 กฎหมายอาญาย้อนหลังเป็นผลร้ายมิได้
2.2 การใช้กฎหมายในส่วนที่เกี่ยวกับเวลา
2.2.1 กฎหมายที่บัญญัติในภายหลัง ยกเลิกความผิดตามกฎหมายอาญาที่ใช้ในขณะกระทำผิด
2.2.2 กฎหมายที่บัญญัติในภายหลัง มิได้ยกเลิกความผิดตามกฎหมายที่ใช้ในขณะกระทำผิด แต่มีความแตกต่างกัน
2.3 การใช้กฎหมายอาญาในส่วนสถานที่
2.3.1 หลักดินแดน
2.3.2 หลักอำนาจลงโทษสากล
2.3.3 หลักบุคคล
2.4 การคำนึงถึงคำพิพากษาของศาลต่างประเทศ
2.5 บุคคลที่กำฆมายอาญาใช้บังคับ
บทที่ 3 โครงสร้างความรับผิดในทางอาญา
3.1 โครงสร้างความรับผิดอาญาของคอมมอนลอว์ (Common Law)
3.2 โครงสร้างความรับผิดอาญาของระบบซีวิลลอว์ (Civil Law)
3.2.1 โครงสร้างความรับผิดทางอาญาของประเทศฝรั่งเศส
3.2.2 โครงสร้างความรับผิดทางอาญาของประเทสเยอรมัน
3.2.3 โครงสร้างความรับผิดในทางอาญาของประเทศไทย
3.3 หลักการวินิจฉัยโครงสร้างความรับผิด
3.3.1 การกระทำครบ “องค์ประกอบ” ที่กฎหมายบัญญัติเป็นความผิด
3.3.2. การกระทำนั้นไม่มี “กฎหมายยกเว้นความผิด”
3.3.3. การกระทำนั้นไม่มี “กฎหมายยกเว้นโทษ”
บทที่ 4 การกระทำครบ “องค์ประกอบ” ที่กฎหมายบัญญัติเป้นความผิด
4.1 การกระทำ
4.1.1 ความหมายของการกระทำ
4.1.2 ประเภทของการกระทำ
4.2 การกระทำนั้นครบ “องค์ประกอบภายนอกของความผิดในเรื่องนัั้น”
4.2.1 ผู้กระทำ
4.2.2 การกระทำ
4.2.3 วัตถุแห่งการกระทำ
4.3 การกระทำครบ “องค์ประกอบภายใน”
4.3.1 เจตนาตามความจริง
4.3.2 เจตนาโดยผลของกฎหมาย
4.3.3 การกระทำโดยประมาท
4.3.4 การกระทำโดยไม่เจตนาไม่ประมาท
4.4 ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผล
4.4.1 ทฤษฎีเงื่อนไข
4.4.2 ทฤษฎีเหตุที่เหมาะสม
4.4.3 ผลของการกระทำความผิดที่ทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักขึ้น
บทที่ 5 การสำคัญผิดในทางกฎหมายอาญา่
5.1 การสำคัญผิดในตัวบุคคล
5.2 การสำคัญผิดในข้อเท็จจริง
บทที่ 6 การกระทำมีกฎหมายยกเว้นความผิด
6.1 กฎหมายและจารีตประเพณีให้อำนาจกระทำได้
6.1.1 กำหมาให้อำนาจกระทำได้
6.1.2 จารีตประเพณีให้อำนาจกระทำได้
6.2 การกระทำเพื่อป้องกันสิทธิ
6.2.1 แนวคิดของการป้องกัน
6.2.2 หลักเกณฑ์ของการป้องกัน
6.2.3 ผลของการป้องกันที่ชอบด้วยกฎหมาย
6.3 ความยินยอมให้กระทำ
บทที่ 7 การกระทำนั้นมีกฎหมายยกเว้นโทษ
7.1 การกระทำด้วยความจำเป็น
7.1.1 ความจำเป็นเพราะอยู่ในท่บังคับ
7.1.2 ความจำเป็นเพื่อให้ตนและผู้อื่นพ้นจากภยันตราย
7.2 ความสามารถรับผิดชอบและความอ่อนอายุ
7.2.1 กระทำความผิดในขณะจิตผิดปกติ
7.2.2 การผิดในขณะมึนเมา
7.2.3 การกระทำผิดของเด็ก
7.3 การกระทำตามคำสั่งที่มิชอบด้วยกฎหมาย
7.4 การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในบางความผิดระหว่างสามีภรรยา
บทที่ 8 เหตุลดโทษหรือเหตุบรรเทาโทษ
8.1 เหตุลดโทษโดยทั่วไป
8.1.1 ความไม่รู้กฎหมาย
8.1.2 คนวิกลจริตึ่งยังสามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้างหรือสามารถบังคับตนเองได้บ้าง
8.1.3 คนมึนเมาซึ่งสามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้างหรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง
8.1.4 ป้องกัน จำเป็น เกินขอบเขต
8.1.5 การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์บางมาตราระหว่างญาติสนิท
8.1.6 ผู้กระทำความผิดอายูน้อยกว่า 15 ปี แต่ต่ำกว่า 18 ปี หรือตั้งแต่ 18 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี
8.1.7 เหตุบรรเทาโทษ
8.2 เหตุลดโทษเพราะบันดาลโทสะ
บทที่ 9 การพยายามกระทำความผิด
9.1 หลักทั่วไปของการพยายามกระทำความผิด
9.1.1 การเริ่มต้นของการกระทำความผิด
9.1.2 การลงมือกระทำผิด
9.1.3 หลักเกณฑ์การพยายามกระทำความผิด
9.1.4 ผลของการพยายามกระทำความผิด
9.2 การพยายามกระทำความผิดที่ไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้
9.2.1 หลักเกณฑ์การพยายามกระทำความผิด ไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้
9.2.2 ผลของการพยายามกระทำความผิดที่ไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้
9.3 การพยายามกระทำความผิดที่ผู้กระทำได้มีการยับยั้งหรือกลับใจ
9.3.1 หลักเกณฑ์ของการยับยั้งหรือกลับใจ
9.3.2 ผลของการที่ผู้กระทำยับยั้งหรือกลับใจ
9.4 บทบัญญัติพิเศษเกี่ยวกับการพยายามกระทำความผิด
9.4.1 ความผิดที่มีพยายามไม่ได้
9.4.2 การพยายามกระทำความผิดที่ไม่ต้องรับโทษ
9.4.3 การพยายามกระทำความผิดที่กฎหมายบัญญัติไว้ เท่ากับโทษในความสำเร็จและพยายามกระทำความผิดที่กฎหมายถือเป็นความผิดเช่นเดียวกับความผิดสำเร็จ
บทที่ 10 ผู้เกี่ยวข้องในการกระทำความผิดตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
10.1 ตัวการ
10.1.1 เป็นการกระทำความผิดโดยเจตนา
10.1.2 ในระหว่งตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป
10.1.3 การกระทำร่วมกันในขณะกระทำความผิด
10.1.4 เจตนาร่วมกันในขณะกระทำความผิด
10.1.5 ความรับผิดทางตัวการ
10.2 ผู้ใช้
10.2.1 การก่อให้ผู้อื่นกระทำผิด 
10.2.2 เจตนของผู้ใช้
10.2.3 ความรับผิดของผู้ใช้
10.3 ผู้ใช้ด้วยการโฆษณาหรือประกาศ
10.3.1 ลักษณะการใช้โดยวิธีการโฆษณาหรือประกาศ
10.3.2 ความรับผิดผู้ใช้ด้วยการโฆษณาหรือประกาศ
10.4 ผู้สนับสนุน
10.4.1 หลักเกณฑ์การเป็นผู้สนับสนุน
10.4.2 ความรับผิดของการเป้นผู้สนับสนุน
10.5 ขอบเขตความรับผิดของการเป้นผู้ใช้และผู้สนับสนุน
10.5.1 ผู้ถูกใช้หรือผู้รับการสนับสนุนกระทำเกินขอบเขต
10.5.2 กรณีผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนเข้าขัดขวาง
10.6 เหตุส่วนตัวและเหตุลักษณะคดี
บทที่ 11 การกระทำกรรมเดียว หรือหลายกรรมต่างกัน อายุความ
11.1 การกระทำความผิดหลายอย่าง
11.1.1 การกระทำกรรมเดียว
11.1.2 การกระทำหลายกรรมต่างกัน
11.2 การกระทำความผิดอีก
11.2.1 การเพิ่มโทษเพราะกระทำความผิดอีกโดยทั่วไป
11.2.2 การเพิ่มโทษเพราะกระทำความผิดอีกเฉพาะอย่าง
11.3 อายุความ
11.3.1 อายุความฟ้องคดีและฟ้องขอให้กักกัน
11.3.2 อายุความล่วงเลยการลงโทษ
11.3.3 อายุความการบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัย
11.3.4 อายุความสำหรับความผิดอันยอมความได้
11.4 บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษและการใช้บทบัญญัติทัวไปในกฎหมายอื่น
11.4.1 บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ
11.4.2 การใช้บทบัญญัติทั่วไปในกฎหมายอื่น
บทที่ 12 โทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย
12.1 วัถถุประสงค์ในการลงโทษ
12.2 ประเภทของโทษและวิธีการลงโทษ
12.2.1 โทษประหารชีวิต
12.2.2 โทษจำคุก
12.2.3 โทษกักขัง
12.2.4 โทษปรับ
12.2.5 โทษริบทรัพย์สิน
12.2.6 ความระงับแห่งโทษอาญา
12.3 วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษ และการรอการลงโทษ
12.3.1 วิธีเพิ่มโทษ
12.3.2 วิธีลดโทษ
12.3.3 การรอการลงโทษ
12.4 วิธีการเพื่อความปลอดภัย
12.4.1 กักกัน
12.4.2 ห้ามเข้าเขตกำหนด
12.4.3 การเรียกปรักันทัณฑ์บน
12.4.4 การคุมตัวไว้สถานพยาบาล
12.4.5 การห้ามการประกอบอาชีพบางอย่าง
12.5 การใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัย
12.5.1 วิธีการเพื่อความปลอดภัยให้ใช้ขณะสาลพิพากษา
12.5.2 กฎหมายที่บัญญัติภายหลังยกเลิกวิธีการเพื่อความปลอดภัย
12.5.3 กฎหมายที่บัญญัติหลังเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขให้มีการใช้บังคบเพื่อความปลอดภัย
12.5.4 กฎหมายที่บัญญัติภายหลังเปลี่ยนโทษมาเป้นวิธีการเพื่อความปลอดภัย
12.5.5 การสั่งเพิกถอนหรืองดการใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยชั่วคราว
บรรณนุกรม


ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://attorney285.com/product_571709_th

*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 
**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  https://www.attorney285.co.th/how2order  
*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 

 
เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

 
อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285 




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 

บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)

 

Sitemap 1 2 3