ผู้เขียน หัวข้อ: คำอธิบาย กฎหมายอาญา ภาค 1 เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์  (อ่าน 306 ครั้ง)

attorney285

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6360
    • ดูรายละเอียด
    คำอธิบาย กฎหมายอาญา ภาค 1 เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์ 
    ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_571709_th_2393353คำอธิบาย กฎหมายอาญา ภาค 1 เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์
    ผู้แต่ง : เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์
    ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 10 : แก้ไขเพิ่มเติม มีนาคม 2559
    จำนวนหน้า: 1016 หน้า
    ขนาด : 18.5x26 ซม.
    รูปแบบ : ปกอ่อน
    บทที่ 1 ลักษณะของกฎหมายอาญา
    • ความหมายของกฎหมายอาญา[/*]
    • หลักเกณฑ์ในการกำหนดความผิดทางอาญา[/*]
    • กฎหมายอาญาและกฎหมายแพ่ง[/*]
    • เอกชนผู้เสียหายและกฎหมายอาญา[/*]
    • กระบวนการใช้บังคับกฎหมายอาญา[/*]
    • เอกลักษณ์ของกฎหมายอาญา[/*]
    บทที่ 2 การใช้กฎหมายอาญาย้อนหลังเพื่อเป็นคุณแก่ผู้กระทำความผิด
    [list=1]
    • กฎหมายที่บัญญัติในภายหลัง ยกเลิกความผิดตามกฎหมายที่ใช้ในขณะกระทำความผิด[/*]
    • กฎหมายที่บัญญัติในภายหลัง มิได้ยกเลิกความผิดตามกฎหมายที่ใช้ในขณะกระทำความผิด แต่มีความแตกต่างกัน[/*]
    บทที่ 3 ขอบเขตของการใช้กฎหมายอาญา
              หลักดินแดน
    [list=1]
    • การกระทำความผิดในราชอาณาจักร[/*]
    • การกระทำความผิดนอกราชอาณาจักรแต่ถือว่ากระทำความผิดในราชอาณาจักร[/*]
    หลักอำนาจลงโทษสากล
    หลักบุคคล
    • ข้อเปรียบเทียบระหว่างหลักดินแดน หลักอำนาจลงโทษสากล และหลักบุคคล[/*]
    • การคำนึงถึงคำพิพากษาของศาลในต่างประเทศ[/*]
    • กรณีกระทำความผิดนอกราชอาราจักร[/*]
    • กรณีกระทำความผิดในราชอาราจักร หรือกระทำความผิดที่ประมวลกฎหมายนี้ถือว่าได้กระทำในราชอาณาจักร[/*]
    บทที่ 4 ประเภทของความผิดอาญา
    [list=1]
    • การแบ่งแยกประเภทความผิดในแง่ของกฎหมาย[/*]
    • การแบ่งแยกประเภทความผิดในแง่ของการกระทำ[/*]
    • การแบ่งแยกประเภทความผิดในแง่เจตนา[/*]
    • การแบ่งแยกประเภทความผิดในแง่ผู้กระทำ[/*]
    • การแบ่งแยกประเภทความผิดในแง่โทษ[/*]
    • การแบ่งแยกประเภทความผิดในแง่ของการดำเนินคดี[/*]
    บทที่ 5 โครงสร้างความรับผิดในทางอาญา
    • โครงสร้างข้อ 1 การกระทำครบ “องค์ประกอบ” ที่กฎหมายบัญญัติ[/*]
    • โครงสร้างข้อ 2 การกระทำไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิด[/*]
    • โครงสร้างข้อ 3 การกระทำนั้นไม่มีกฎหมายยกเว้นโทษ[/*]
    • เหตุลดโทษ[/*]
    บทที่ 6 โครงสร้างข้อ 1 การกระทำครบ “องค์ประกอบ” ที่กฎหมายบัญญัติ
    • ตอนที่ 1 มีการกระทำ[/*]
    • ข้อสังเกตโดยทั่วไปเกี่ยวกับการกระทำ[/*]
    • การกระทำโดยการเคลื่อนไหวร่างกาย[/*]
    • การกระทำโดยการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย[list=1]
    • การกระทำโดยงดเว้น[/*]
    • การกระทำโดยละเว้น[/*]
    [/*][/list]
    • ความแตกต่างระหว่างการกระทำโดยงดเว้นและการกระทำโดยละเว้น[/*]
    • ตอนที่ 2 การกระทำนั้นครบ “องค์ประกอบภายนอก” ของความผิดในเรื่องนั้น[list=1]
    • ผู้กระทำ[/*]
    • การกระทำ[/*]
    • วัตถุแห่งการกระทำ[/*]
    [/*]
    • การครบองค์ประกอบภายนอกและการขาดองค์ประกอบภายนอก[/*]
    • ตอนที่ 3 การกระทำนั้นครบ “องค์ประกอบภายใน”ของความผิดในเรื่องนั้น ๆ[/*]ส่วนที่ 1 เจตนา
      [list=1]
    • เจตนาตามความเป็นจริง[/*]
    • ผู้กระทำต้อง “รู้” ข้อเท็จจริง[/*]
    • ประสงค์ต่อผล[/*]
    • เจตนาฆ่าหรือเจตนาทำร้าย[/*]
    • เล็งเห็นผล[/*]
    • เจตนาพิเศษ[/*]
    • องค์ประกอบภายนอกซึ่งมิใช่ “ข้อเท็จจริง”[/*]
    • การสำคัญผิดในตัวบุคคล[/*]
    • การสำคัญผิดในข้อเท็จจริง[/*]
    สำคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงซึ่งทำให้การกระทำนั้นไม่เป็นความผิด
    สำคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงซึ่งทำให้ผู้กระทำไม่ต้องรับโทษ
    สำคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงซึ่งทำให้ผู้กระทำได้รับโทษน้อยลง
    • การสำคัญผิดในข้อเท็จจริงโดยประมาท[/*]
    • การขาดองค์ประกอบภายนอกของความผิด[/*]
    • การไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบภายนอกของความผิดและการสำคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริง ซึ่งทำให้การกระทำไม่เป็นความผิดหรือทำให้ผู้กระทำไม่ต้องรับโทษหรือได้รับโทษน้อยลงมีความแตกต่างกัน[/*]
    • เจตนาโดยผลของกฎหมาย (ไม่ประสงค์ต่อผลและไม่เล็งเห็นผล)[/*]
    การกระทำโดยพลาด
    ส่วนที่ 2 ประมาท
    ส่วนที่ 3 ไม่เจตนา ไม่ประมาท
    ตอนที่ 4 ผลของการกระทำสัมพันธ์กับการกระทำตามหลักในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผล
    • หลักในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผล[/*]
    • ทฤษฎีเงื่อนไข[/*]
    • ทฤษฎีเหตุที่เหมาะสม[/*]
    บทที่ 7 โครงสร้างข้อ 2 การกระทำไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิด
    • ตอนที่ 1 ป้องกัน[/*]
    หลักเกณฑ์ของการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายตามมาตรา 68
    [list=1]
    • มีภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย[/*]
    • ภยันตรายนั้นใกล้จะถึง[/*]
    • ผู้กระทำจำต้องกระทำเพื่อป้องกันสิทธิของตนเองหรือผู้อื่นให้พ้นจากภยันตรายนั้น[/*]
    • การกระทำโดยป้องกันสิทธินั้นไม่เกินขอบเขต
      • ตอนที่ 2 ความยินยอม[/*]
      [/*]
    บทที่ 8 โครงสร้างข้อ 3 การกระทำนั้นไม่มีกฎหมายยกเว้นโทษ
    • ตอนที่ 1 การกระทำโดยจำเป็น[/*]
    • จำเป็นเพราะอยู่ในที่บังคับ[/*]
    • จำเป็นเพื่อให้พ้นภยันตราย[/*]
    • ตอนที่ 2 เหตุยกเว้นโทษอื่น ๆ ตามประมวลกฎหมายอาญา[/*]
    • ส่วนที่ 1 การกระทำความผิดของเด็กอายุไม่เกิน 15 ปี[/*]
    • ส่วนที่ 2 การกระทำความผิดของคนวิกลจริต[/*]
    • ส่วนที่ 3 การกระทำความผิดของผู้มึนเมา[/*]
    • ส่วนที่ 4 การกระทำความผิดตามคำสั่งที่มิชอบด้วยกฎหมายของเจ้าพนักงาน[/*]
    • ส่วนที่ 5 การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในบางความผิดระหว่างสามีภริยา[/*]
    • ตอนที่ 3 เหตุยกเว้นโทษกรณีพิเศษ ผู้กระทำถูกล่อให้กระทำความผิดโดยเจ้าพนักงานหรือตัวแทน[/*]
    บทที่ 9 เหตุลดโทษ
    • ตอนที่ 1 เหตุลดโทษโดยทั่วไป[/*]
    • ส่วนที่ 1 ความไม่รู้กฎหมาย[/*]
    • ส่วนที่ 2 คนวิกลจริตซึ่งยังสามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้างหรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง[/*]
    • ส่วนที่ 3 คนมึนเมาซึ่งสามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้างหรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง[/*]
    • ส่วนที่ 4 ป้องกัน จำเป็น เกินขอบเขต[/*]
    • ส่วนที่ 5 การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์บางมาตราระหว่างญาติสนิท[/*]
    • ส่วนที่ 6 ผู้กระทำความผิดอายุกว่า 15 ปี แต่ต่ำกว่า 18 ปี หรือตั้งแต่ 18 ปี แต่ไม่เกิน 20ปี[/*]
    • ส่วนที่ 7 เหตุบรรเทาโทษ[/*]
    • ตอนที่ 2 เหตุลดโทษเพราะบันดาลโทสะ[/*]
    • ถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรม[/*]
    • การที่ถูกข่มเหงเช่นนั้นเป็นเหตุให้ผู้กระทำบันดาลโทสะ[/*]
    • ผู้กระทำได้กระทำความผิดต่อผู้ข่มเหงในขณะบันดาลโทสะ[/*]
    • ป้องกันและบันดาลโทสะ[/*]
    บทที่ 10 การพยายามกระทำความผิด
    • ตอนที่ 1 หลักทั่วไป[/*]
    • ผู้กระทำจะต้องมีเจตนากระทำความผิด[/*]
    • ผู้กระทำจะต้องกระทำการเพื่อให้บรรลุผลตามเจตนาอันเป็นการกระทำที่เลยขั้นตระเตรียม กล่าวคือ ถึงขั้นลงมือกระทำความผิดแล้ว[/*]
    • ผู้กระทำกระทำไปไม่ตลอดหรือกระทำไปตลอดแล้วแต่การกระทำไม่บรรลุผล[/*]
    • การพยายามกระทำความผิดซึ่งเป็นไปไม่ได้อย่างแน่แท้[/*]
    • ตอนที่ 2 การยับยั้งหรือกลับใจ[/*]
    • ตอนที่ 3 ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับการพยายามกระทำความผิด[/*]
    บทที่ 11 ผู้เกี่ยวข้องในการกระทำความผิดตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
    • ตอนที่ 1 ตัวการ[/*]
    • เป็นการกระทำความผิดโดยเจตนา[/*]
    • ในระหว่างบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป[/*]
    • โดยมีการกระทำร่วมกันในขณะกระทำความผิด[/*]
    • มีเจตนากระทำร่วมกันในขณะกระทำความผิด
      • ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับการเป็นตัวการมาตรา 83[/*]
      • คุณสมบัติเฉพาะตัวของผู้กระทำในความผิดบางฐาน[/*]
      • ตอนที่ 2 ผู้ใช้[/*]
      • ส่วนที่ 1 การก่อให้ผู้อื่นกระทำความผิดโดยวิธีการทั่ว ๆ ไป[/*]
      • ส่วนที่ 2 การก่อให้บุคคลทั่วไปกระทำความผิดโดยการโฆษณาหรือประกาศ[/*]
      • ตอนที่ 3 ผู้สนับสนุน[/*]
      • ตอนที่ 4 ของเขตของความรับผิดชอบของผู้ใช้ผู้โฆษณาหรือประกาศหรือผู้สนับสนุน[/*]
      • ตอนที่ 5 การขัดขวางของผู้ใช้ ผู้โฆษณาหรือประกาศหรือผู้สนับสนุน[/*]
      • ตอนที่ 6 ความแตกต่างระหว่างผู้เกี่ยวข้องในการกระทำความผิดประเภทต่าง ๆ[/*]
      • ตอนที่ 7 เหตุส่วนตัวและเหตุในลักษณะคดี[/*]
      • ตอนที่ 8 บุคคลผู้ซึ่งไม่สมควรเป็นตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุนในความผิดอาญาบางประเภท[/*]
      [/*]
    บทที่ 12 การกระทำกรรมเดียว หรือหลายกรรมต่างกัน
    • ตอนที่ 1 การกระทำกรรมเดียว[/*]
    • ตอนที่ 2 การกระทำหลายกรรมต่างกัน (หลายกระทง)[/*]
    บทที่ 13 โทษ
    • ตอนที่ 1 วัตถุประสงค์ของการลงโทษ[/*]
    • ตอนที่ 2 ประเภทของโทษและวิธีการลงโทษ[/*]
    • ส่วนที่ 1 โทษประหารชีวิต[/*]
    • ส่วนที่ 2 โทษจำคุก[/*]
    • ส่วนที่ 3 โทษกักขัง[/*]
    • ส่วนที่ 4 โทษปรับ[/*]
    • ส่วนที่ 5 โทษริบทรัพย์สิน[/*]
    • ส่วนที่ 6 ความระงับแห่งโทษอาญา[/*]
    • ตอนที่ 3 วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษ และรอการลงโทษ[/*]
    • ส่วนที่ 1 วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษ[/*]
    • ส่วนที่ 2 การรอการลงอาญา[/*]
    • ตอนที่ 4 การเพิ่มโทษเพราะจำเลยกระทำความผิดอีก[/*]
    • ส่วนที่ 1 การเพิ่มโทษที่จะลงในสนาม[/*]
    • ส่วนที่ 2 การเพิ่มโทษที่จะลงกึ่งหนึ่ง[/*]
    บทที่ 14 วิธีการเพื่อความปลอดภัย
    • ตอนที่ 1 บทบัญญัติทั่วไปเกี่ยวกับวิธีการเพื่อความปลอดภัย[/*]
    • ส่วนที่ 1 กักกัน[/*]
    • ส่วนที่ 2 ห้ามเข้าเขตกำหนด[/*]
    • ส่วนที่ 3 การเรียกประกันทัณฑ์บน[/*]
    • ส่วนที่ 4 การคุมตัวไว้ในสถานพยาบาล[/*]
    • ส่วนที่ 5 การห้ามการประกอบอาชีพบางอย่าง[/*]
    • ตอนที่ 2 การใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัย[/*]
    • บทที่ 15 อายุความ[/*]
    • ตอนที่ 1 อายุความฟ้องคดี[/*]
    • ตอนที่ 2 อายุความนำตัวผู้ถูกฟ้องแล้วหลบหนีหรือวิกลจริตมาดำเนินการพิจารณาต่อไป[/*]
    • ตอนที่ 3 อายุความฟ้องคดีความผิดอันยอมความได้[/*]
    • ตอนที่ 4 อายุความฟ้องขอให้กักกัน[/*]
    • ตอนที่ 5 กำหนดเวลาล่วงเลยการลงโทษ[/*]
    • ตอนที่ 6 กำหนดเวลาล่วงเลยการยึดทรัพย์สินใช้ค่าปรับหรือการกักขังแทนค่าปรับ[/*]
    • ตอนที่ 7 กำหนดเวลาล่วงเลยการกักกัน[/*]
    • ตอนที่ 8 กำหนดเวลาล่วงเลยการบังคับตามมาตรา 46 หรือการเรียกร้องขอตามมาตรา 47[/*]
    • บทที่ 16 การใช้บทบัญญัติในภาค 1 แก่ความผิดตามกฎหมายอื่นและบทบัญญัติทั่วไปที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ[/*]
    • การใช้บทบัญญัติในภาค 1 แก่ความผิดตามกฎหมายอื่น[/*]
    • บทบัญญัติทั่วไปที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ[/*]
    บรรณานุกรม

    ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://www.attorney285.com/product_571709_th


    *** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

    **** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
    วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  http://www.attorney285.co.th/how2order *** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

    1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
    2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
    3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 
    เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
    Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

    อีเมล attorney285@gmail.com 
    โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
    มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
    LINE ID : @attorney285   




    Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

    บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

    ตั้งอยู่ที่ 
    เลขที่ 15 
    ซ.รามคำแหง 24/3 
    แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
    กรุงเทพฯ 10240 


    บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
    จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



    จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)


    [/tr][/table]

     

    Sitemap 1 2 3