ผู้เขียน หัวข้อ: คำอธิบายหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ว่าด้วยการดำเนินคดีในขั้นตอนก่อนการพิจารณา  (อ่าน 341 ครั้ง)

attorney285

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6360
    • ดูรายละเอียด
คำอธิบายหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ว่าด้วยการดำเนินคดีในขั้นตอนก่อนการพิจารณา เกียรติขจร วัจนสวัส
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_571711_th_2615392คำอธิบายหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ว่าด้วยการดำเนินคดีในขั้นตอนก่อนการพิจารณา เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์
ผู้แต่ง : เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์
ปีที่พิมพ์ ครั้งที่ 7 : แก้ไขเพิ่มเติม พฤศจิกายน 2558
จำนวนหน้า: 734 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
บทที่  1 
 หลักพื้นฐานที่สำคัญบางประการของ
 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
บทที่  2
 หลักการใหม่ในการรับฟังพยานหลักฐาน
 ที่  “ได้มาเนื่องจากการกระทำโดยมิชอบ” (มาตรา 226/1)
  บทบัญญัติมาตรา  226/1
  ความเกี่ยวพันระหว่างบทบัญญัติมาตรา  226/1
  และ “คำรับสารภาพ” หรือ “ถ้อยคำ” ของผู้ต้องหา
  หลัก “ผลไม้ของต้นไม้ที่เป็นพิษ” และหลักของมาตรา   226/1
  ความเกี่ยวพันระหว่างฎีกาที่  500/2474   และหลักในมาตรา   226/1
  สรุปความหมายของคำว่า “พยานหลักฐาน”   ที่เกิดขึ้นโดยชอบ
  แต่ได้มาเนื่องจากการกระทำโดยมิชอบ”
  กรณีที่  “ไม่ใช่”  “พยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบ
แต่ได้มาเนื่องจากการกระทำโดยมิชอบ”
บทที่  3 
  ขั้นตอนการดำเนินคดีอาญาก่อนการพิจารณาคดี
   ความผิดอันยอมความได้
    อายุความ
    วิธีการนับอายุความฟ้องคดี
    อายุความตาม  ป.อ.   มาตรา  96
    ผู้ร้องทุกข์
    มอบอำนาจให้ร้องทุกข์ได้
    ความสำคัญของการ  “ร้องทุกข์”
    ร้องทุกข์ต่อผู้ใด
    ลักษณะของ  “คำร้องทุกข์”
    การแก้คำร้องทุกข์
    ผู้เสียหายเป็นผู้เยาว์
    อำนาจในการฟ้องคดีของผู้เสียหาย
    ผู้เยาว์ฟ้องคดีด้วยตนเองไม่ได้
    ผู้เสียหายยื่นฟ้องแล้วตายลง
    การกลั่นกรองฟ้องของผู้เสียหาย
    ปล่อยชั่วคราว
    อำนาจในการระงับคดีความผิดอันยอมความได้ของผู้เสียหาย
    การดำเนินคดีในความผิดอันยอมความได้โดยองค์กรของรัฐ
    การสอบสวน
    ข้อห้ามของการสอบสวน
    การกลั่นกรองโดยพนักงานอัยการ
   ความผิดอาญาแผ่นดิน
   คำกล่าวโทษ
บทที่  4
  อำนาจของผู้เสียหายในการดำเนินคดีอาญา
   ความสำคัญของผู้เสียหายในคดีความผิดอันยอมความได้
   ผู้เสียหายที่แท้จริง
    ผู้เสียหายโดยพฤตินัย
    ผู้เสียหายโดยนิตินัย
    ผู้เสียหายในความผิดฐานบุกรุก
    ผู้เสียหายในความผิดตาม   ป.อ.  มาตรา  136-205
    ความผิดที่รัฐเท่านั้นมีอำนาจดำเนินคดีแก่ผู้กระทำความผิด
    ผู้เสียหายมอบอำนาจให้ผู้อื่นดำเนินคดีอาญาแทนได้
     มอบอำนาจให้ร้องทุกข์
     มอบอำนาจให้ฟ้องคดี
   ผู้เสียหายที่เป็นผู้เยาว์
    ผู้เยาว์ร้องทุกข์และถอนคำร้องทุกข์ได้ด้วยตนเอง
    ผู้เยาว์ฟ้องคดีโดยลำพังตนเองไม่ได้
   ผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหาย
    ผู้มีอำนาจจัดการแทนตามมาตรา  4
    ผู้มีอำนาจจัดการแทนตามมาตรา  5
     กรณีมาตรา  5  อนุมาตรา  1
     กรณีมาตรา  5  อนุมาตรา  2
     กรณีมาตรา  5  อนุมาตรา  3
     ผู้มีอำนาจจัดการแทนตามมาตรา  6
     “ผู้แทนเฉพาะคดี”
    อำนาจของผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหายที่แท้จริง
    ข้อสังเกตเกี่ยวกับกรณี  “ผู้เสียหาย”   ถึงแก่ความตาย
    กรณีที่มีผู้เสียหายหลายคน
    ผู้เสียหายในความผิดฐานหมิ่นประมาท
    คำพิพากษาฎีกาเรื่องผู้เสียหาย
     ความผิดฐานลักทรัพย์
     ความผิดฐานฉ้อโกง
     ความผิดฐานยักยอก
     ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
     ความผิดฐานรับของโจร
     ความผิดฐานบุกรุก
     ความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่น
     ถึงแก่ความตาย  (มาตรา  291)
     ความผิดฐานพรากผู้เยาว์
     ความผิดฐานปลอมเอกสารและใช้เอกสารปลอม
     ความผิดฐานแจ้งความเท็จแก่เจ้าพนักงาน
     (มาตรา  137)   และ
     ความผิดฐานแจ้งให้พนักงานจดข้อความอันเป็นเท็จ
     (มาตรา  267)
     ความผิดฐานฟ้องเท็จ
     ความผิดฐานเบิกความเท็จ
     ความผิดฐานนำสืบหรือแสดงพยานหลักฐานอันเป็นเท็จ
     ในการพิจารณาคดี  (มาตรา  180)
     ความผิดฐานทำให้เสียหาย  ทำลาย  ซ่อนเร้นฯ
     ซึ่งพินัยกรรมหรือเอกสารของผู้อื่น  (มาตรา  188)
     ความผิดฐานขัดขืนหมายหรือคำสั่งของศาล
     (มาตรา  170)
     ความผิดฐานเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้น
     การปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือโดยทุจริต  (มาตรา  157)
     ความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานทำให้ผู้ที่อยู่ในระหว่างคุมขัง
     หลุดพ้นจากการคุมขัง
     ความผิดตาม  พ.ร.บ.  ว่าด้วยความผิดอันเกิดจาก
    การใช้เช็คฯ
บทที่  5
 การฟ้องคดีอาญาโดยผู้เสียหาย
  กรณีมีผู้เสียหายที่แท้จริงหลายคน
  ผู้เสียหายที่แท้จริงยื่นฟ้องแล้วตายลง
  (การรับมรดกความตามมาตรา  29)
  การขอเป็นโจทก์ร่วม
   ผลของการที่ผู้เสียหายเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการ
  สรุปหลักกฎหมายเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
บทที่  6
 การสิ้นสุดคดีความผิดอันยอมความได้
 โดยการถอนคำร้องทุกข์  การยอมความกัน
  ถอนคำร้องทุกข์
  ยอมความกัน
บทที่  7
 การสิ้นสุดคดีโดยการถอนฟ้อง
  ความผิดอาญาแผ่นดิน
  ความผิดอันยอมความได้
 ผลของการถอนฟ้อง
  ความผิดอาญาแผ่นดิน
  ความผิดอันยอมความได้
บทที่  8
 การสิ้นสุดคดีโดยการเปรียบเทียบ
  หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการเปรียบเทียบ
  วิธีเปรียบเทียบตาม  ป.วิ.อ.
  การเปรียบเทียบที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
บทที่  9
 การสิ้นสุดคดีกรณีอื่น ๆ
  ศาลได้มีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้ฟ้อง (ฟ้องซ้ำ)
   หลักเกณฑ์ของฟ้องซ้ำ
    จำเลยคนเดียวกัน
    การกระทำ  “กรรมเดียว” กัน
    มีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งฟ้องได้
   กรณีที่ถือว่าศาลวินิจฉัย  “ในความผิด” แล้ว
    โจทก์ฟ้องจำเลยโดยสมยอมกัน
   กรณีที่ถือว่าศาลยังไม่ได้วินิจฉัย  “ในความผิด”
   “ความผิดต่อเนื่อง” เป็นการกระทำกรรมเดียว
  คดีขาดอายุความ
  มีกฎหมายยกเว้นโทษ
  ความตายของผู้กระทำผิด
บทที่  10
 การฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
  ความหมายของคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
  กรณีที่ไม่ใช่คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
  ผู้มีอำนาจฟ้อง
   อัยการเรียกทรัพย์สินหรือราคาแทนผู้เสียหาย
    การเรียก “ดอกเบี้ย” ของต้นเงินอันเกิดจากการกระทำ
    ความผิดตามที่ระบุไว้ใน  ป.วิ.อ.  มาตรา  43
  ฟ้องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญายังศาลใด
  หลักเกณฑ์ในการพิพากษาคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
  ข้อเท็จจริงในคำพิพากษาคดีอาญาผูกพันข้อเท็จจริงในคดีแพ่ง
    คำพิพากษาคดีอาญาต้องถึงที่สุด
    เป็นข้อเท็จจริงที่เป็นประเด็นโดยตรงในคดีอาญา
     กรณีที่เป็นประเด็นโดยตรง
     กรณีที่ไม่ใช่ประเด็นโดยตรง
    ผู้ที่จะถูกข้อเท็จจริงในคดีอาญามาผูกพัน
    ในคดีแพ่งต้องเป็นคู่ความในคดีอาญา
  คำพิพากษาคดีส่วนแพ่งต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วย
  ความรับผิดของบุคคลในทางแพ่ง
  อายุความฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
   ถ้าไม่มีผู้ใดฟ้องทางอาญาในความผิดนั้นเลย
   ถ้ามีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลและได้ตัวผู้กระทำความผิด
   มายังศาลด้วยแล้วแต่คดียังไม่เด็ดขาด
   ถ้าโจทก์ได้ฟ้องคดีอาญาแล้ว
    ศาลพิพากษาลงโทษจำเลยจนคดีเด็ดขาดแล้ว
    ก่อนที่ได้ยื่นฟ้องคดีแพ่ง
    ศาลพิพากษายกฟ้องปล่อยจำเลยจนคดีเด็ดขาดแล้ว
    ก่อนที่ได้ยื่นฟ้องคดีแพ่ง
 หลักการใหม่บางประการในการฟ้องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
บทที่  11
 การจับ  การค้น
  ความหมายของพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ
  เขตอำนาจของพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ
 จับ
  การจับโดยมีหมายจับ
  เหตุออกหมายจับ
  การจับโดยไม่มีหมายจับ
   ป.วิ.อ.  มาตรา  78
    มาตรา  78 (1)  กรณี  “ความผิดซึ่งหน้า”
     ความผิดซึ่งหน้าอย่างแท้จริง
     (มาตรา  80  วรรคหนึ่ง)
      เห็นกำลังกระทำ
      พบในอาการใดซึ่งแทบจะไม่มีความสงสัยฯ
     ให้ถือเป็นความผิดซึ่งหน้า  (มาตรา  80  วรรคสอง)
    มาตรา  78  (2)
    มาตรา  78  (3)
    มาตรา  78  (4)
   การจับโดยไม่มีหมายจับตามมาตรา  65
   การจับโดยไม่มีหมายจับในกรณีตามมาตรา  134  วรรคห้า
   การจับตาม  ป.วิ.อ.  มาตรา  141  วรรคสี่
  อำนาจจับของราษฎร
   จับกรณีกระทำความผิดซึ่งหน้า
   เจ้าพนักงานผู้จัดการตามหมายจับขอความช่วยเหลือให้จับ
   นายประกันหรือผู้เป็นหลักประกันจับผู้ต้องหาหรือจำเลย
   ที่หนีหรือจะหลบหนี
  สถานที่ซึ่งพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจมีข้อจำกัดในการจับ
  (มาตรา  81)
   สถานที่ซึ่งเป็น “ที่สาธารณสถาน” ไม่ใช่   “ที่รโหฐาน”
  ขั้นตอนในการจับ
   ขั้นตอน “ขณะถูกจับ”
    การแจ้งสิทธิตามมาตรา  83  วรรคสอง
   ขั้นตอน ณ ที่ทำการของพนักงานสอบสวน
     การแจ้งสิทธิตามมาตรา  84  วรรคหนึ่ง
    คำรับสารภาพในชั้นจับกุมหรือในชั้นรับมอบตัวผู้ถูกจับ
    ว่าตนได้กระทำความผิด  “รับฟัง” ไม่ได้โดยเด็ดขาด
    “ถ้อยคำอื่น” รับฟังได้หากมีการแจ้งให้ทราบสิทธิ
    “ถ้อยคำอื่น” ก็รับฟังไม่ได้แม้มีการแจ้งสิทธิ
      หากให้ถ้อยคำโดยไม่สมัครใจ
  อำนาจของพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจผู้ซึ่งรับตัวผู้ถูกจับ
  (มาตรา  84/1)
  สิทธิของผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาที่จะติดต่อ
  กับบุคคลภายนอกและได้รับการดูแล  (มาตรา  7/1)
   ผลของการไม่ปฏิบัติตามที่มาตรา  7/1 กำหนดไว้
  การรับฟังถ้อยคำของผู้ถูกจับในขณะถูกจับ
  ผลของการจับโดยไม่ชอบ
   กรณีที่พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจเป็นผู้จับ
    ป.วิ.อ.  มาตรา  90
    การจับโดยไม่ชอบมีผลกระทบต่อการสอบสวน
    และการฟ้องคดี
   กรณีราษฎรเป็นผู้จับ
  การจับในที่รโหฐานในเวลากลางคืน
  ค้น
   การค้นโดยมีหมายค้น
    มาตรา  69  (2)
    มาตรา  69  (4)
   การค้นโดยไม่มีหมายค้น  (มาตรา  92)
   มาตรา  92  (1)
   มาตรา  92  (2)
   มาตรา  92  (3)
   มาตรา  92  (4)
   มาตรา  92  (5)
  การค้นที่รโหฐานในเวลากลางคืน  (มาตรา  96)
  การเข้าไปจับในที่รโหฐาน
  การค้นบุคคลในที่สาธารณสถาน  (มาตรา  93)
  การค้นบุคคลในที่รโหฐาน
  การค้นอันสืบเนื่องมาจากการจับ
  ผลของการค้นโดยมิชอบ
   ความหมายของ “การค้นโดยมิชอบ”
    ผลในทางกฎหมายอาญาและกฎหมายแพ่ง
    ผลในทางกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
   การค้นโดยเจ้าของหรือผู้ครอบครองที่รโหฐาน
   ให้ความยินยอม  (ฎีกาที่  1164/2546)
   มีอำนาจค้น  แต่กระทำการหรือไม่กระทำการบางประการ
   ซึ่งไม่ถูกต้องตามกฎหมาย
   การค้นโดยมิชอบ  ไม่มีผลกระทบการสอบสวนและการฟ้องคดี
บทที่  12
 การสอบสวน
  อำนาจสอบสวนของพนักงานสอบสวน  (มาตรา  18)
  พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
  พนักงานสอบสวนกรณีความผิดเกี่ยวพันกันหลายท้องที่  (มาตรา 19)
   ไม่แน่ว่าความผิดอาญาได้กระทำในท้องที่ใด
   ในระหว่างหลายท้องที่
   ความผิดส่วนหนึ่งกระทำในท้องที่หนึ่ง
   แต่อีกส่วนหนึ่งในอีกท้องที่หนึ่ง
   ความผิดต่อเนื่อง  ซึ่งกระทำในท้องที่ต่าง ๆ เกินกว่าหนึ่งท้องที่
    “ความผิดต่อเนื่อง” ตามความหมายของกฎหมายอาญา
    กรณีที่ศาลฎีกาถือว่าเป็น “ความผิดต่อเนื่อง”
   ความผิดหลายกรรมกระทำลงในท้องที่ต่าง ๆ กัน
   ความผิดเกิดขึ้นขณะผู้ต้องหากำลังเดินทาง
   ความผิดเกิดขึ้นขณะผู้เสียหายกำลังเดินทาง
    พนักงานสอบสวนท้องที่ใดมีอำนาจสอบสวนและท้องที่ใด
    มีอำนาจรับผิดชอบในการสอบสวน  (มาตรา  19  วรรคหนึ่ง
    และวรรคสอง  (ก)  (ข))
  พนักงานสอบสวนในความผิดที่ได้กระทำลงนอกราชอาณาจักร
  (มาตรา  20)
   หลักการใหม่ของมาตรา  20
  ความสำคัญของการเป็นพนักงานสอบสวนและการเป็น
  พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
   ผู้สอบสวนไม่ใช่พนักงานผู้มีอำนาจสอบสวน
   พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบในการสอบสวนไม่ได้ดำเนินการ
   ตาม  ป.วิ.อ.  มาตรา  140
   ผู้สอบสวนไม่ใช่พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
  การจับ  การค้นไม่ชอบ  ไม่ทำให้การสอบสวนไม่ชอบไปด้วย
  วิเคราะห์ฎีกาที่  1974/2539
  ความเกี่ยวข้องระหว่างมาตรา  18  และมาตรา  19
  การสอบสวนผู้ต้องหา
   วิธีการแจ้งข้อหา
   มาตรา  134  วรรคห้า
   กรณีผู้ต้องหามอบตัวต่อพนักงานสอบสวน
   สิทธิของผู้ต้องหาในการมีทนายความ
  การแจ้งให้ผู้ต้องหาทราบถึงสิทธิต่าง ๆ
  ผลของการฝ่าฝืนบทบัญญัติต่าง ๆ ที่ให้สิทธิแก่ผู้ต้องหา
  การเตือน  “ผู้ต้องหา”
  ผู้ต้องหามีสิทธิไม่ให้การก็ได้
   ผลของการไม่แจ้งข้อหา
   ผลของการไม่เตือน
  ข้อห้ามพนักงานสอบสวน  (มาตรา  135)
   ผลของการสอบสวนโดยฝ่าฝืนข้อห้าม
  การสอบสวนที่ไม่ฝ่าฝืนมาตรา  135
  กรณี “เด็กอายุไม่เกินสิบแปดปี” เป็นผู้เสียหาย พยาน ผู้ต้องหา
   การถามปากคำผู้เสียหายหรือพยานเด็ก (มาตรา  133  ทวิ)
    ผลของการสอบสวนผู้เสียหายหรือพยานเด็ก
    โดยไม่มีนักจิตวิทยา  ฯลฯ  (ฎีกาที่  5294/2549)
   การสอบสวนผู้ต้องหาเด็ก  (มาตรา  134/2)
   เด็กซึ่งเป็นผู้เสียหายหรือพยานชี้ตัวบุคคลใด
   (มาตรา  133  ตรี)
   ผู้ต้องหาเด็กถูกบุคคลอื่นชี้ตัว
   ผู้ต้องหาเด็กชี้ตัวบุคคลใด
   ผู้เสียหายเด็ก “ร้องทุกข์”
   การนำผู้ต้องหาเด็กชี้ที่เกิดเหตุ
  สิทธิในการมีทนายความของผู้ต้องหาเด็ก
   ผลของการสอบสวนผู้ต้องหาเด็กโดยไม่มีนักจิตวิทยา  ฯลฯ
   หรือไม่มีทนายความ
  อำนาจของพนักงานสอบสวนในการรวบรวมหลักฐาน
  อำนาจบังคับผู้ต้องหาพิมพ์ลายนิ้วมือ  ลายมือ  หรือ  ลายเท้า
  อำนาจค้นและยึดของกลาง  (มาตรา  85  และ  85/1)
  อำนาจอื่น ๆ  ของพนักงานสอบสวน
  ผลของการสอบสวนที่ไม่ปฏิบัติตามที่กฎหมายบัญญัติไว้
   ถือว่ามิได้มีการสอบสวนในความผิดนั้น
   อัยการจึงไม่มีอำนาจฟ้อง  ศาลต้องยกฟ้อง  ตามมาตรา  120
   ถือว่ามีการสอบสวน  อัยการจึงมีอำนาจฟ้อง
   แต่ศาลต้องไม่  “รับฟัง” ถ้อยคำของผู้ต้องหา
  กรณีที่ไม่ถือว่าเป็นการสอบสวนที่ไม่ปฏิบัติตามที่กฎหมายบัญญัติไว้
  หน้าที่ของเจ้าพนักงานผู้จับ  หน้าที่ของพนักงานฝ่ายปกครอง
  หรือตำรวจซึ่งรับมอบตัวผู้ถูกจับ  หน้าที่ของพนักงานสอบสวน
   หน้าที่ของเจ้าพนักงานผู้จับ
   หน้าที่ของพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจซึ่งรับมอบตัวผู้ถูกจับ
   หน้าที่ของพนักงานสอบสวนในการสอบสวนผู้ต้องหา
บทที่  13
 อำนาจในการควบคุมตัวผู้ต้องหา,  ขังผู้ต้องหา,  การปล่อยชั่วคราว
  อำนาจในการควบคุมตัวผู้ต้องหาของพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ
   ระยะเวลาในการควบคุม
  การขอให้ศาลออกหมายขังผู้ต้องหา
   เหตุออกหมายขัง
  การขังในสถานที่อื่นนอกจากเรือนจำ  (มาตรา 89/1)
  การปล่อยชั่วคราว
   ปล่อยโดยไม่มีประกัน
   ปล่อยโดยมีประกัน
   ปล่อยโดยมีประกันและมีหลักประกัน
  หลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้ปล่อยชั่วคราว
  การปล่อยชั่วคราวมีผลจนถึงเมื่อใด
  การยื่นขอปล่อยชั่วคราวใหม่อาจใช้หลักประกันเดิมได้  (มาตรา  113/1)
  การสั่งให้เปลี่ยนสัญญาประกันหรือสั่งเรียกหลักประกันเพิ่ม
  การสิ้นสุดของสัญญาประกัน
  การอุทธรณ์หรือฎีกาคำสั่งไม่อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว
  การบังคับตามสัญญาประกัน
  คำพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับการลดค่าปรับ
บทที่  14
 การชันสูตรพลิกศพ
  การตายโดยผิดธรรมชาติ
  การตายในระหว่างอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงาน
   พนักงานอัยการต้องร่วมกับพนักงานสอบสวน
   ทำสำนวนชันสูตรพลิกศพ
   กรณีที่พนักงานอัยการต้องเข้าร่วมกับพนักงานสอบสวน
   ในการทำสำนวนสอบสวน  (มาตรา  155/1)
บทที่  15
 อำนาจในการสั่งคดีของพนักงานอัยการ
  การออกคำสั่งฟ้อง
  การออกคำสั่งไม่ฟ้อง
  ผลของการมีคำสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี
บทที่  16
 ศาลที่มีอำนาจชำระคดีอาญา
  ความผิดเกิดในราชอาณาจักร
   ศาลซึ่งความผิดได้เกิด
   ศาลซึ่งจำเลยมีที่อยู่
   ศาลซึ่งจำเลยถูกจับ
   ศาลแห่งท้องที่ซึ่งพนักงานสอบสวนทำการสอบสวนคดีนั้น
  ความผิดอันเกิดขึ้นนอกราชอาณาจักร
 การโอนคดี
  ศาลที่มีอำนาจชำระคดีหลายเรื่องซึ่งเกี่ยวพันกัน  (มาตรา  24)
   ความผิดหลายฐานกระทำลงโดยผู้กระทำผิดคนเดียวกัน
   ผู้กระทำผิดหลายคนเกี่ยวพันกันในการกระทำความผิด
   ฐานหนึ่งหรือหลายฐาน
   ความผิดหลายฐานกระทำลงโดยมีเจตนาอย่างเดียวกัน
   ความผิดหลายฐานกระทำลงโดยผู้กระทำผิดทั้งหลาย
   คบคิดกันมาแต่ก่อนแล้ว
   ความผิดเกิดขึ้นโดยผู้กระทำมีเจตนาช่วยผู้กระทำผิดอื่นให้พ้นโทษ
 การพิจารณาพิพากษาคดีที่เกี่ยวพันกัน  โดยโจทก์แยกฟ้องเป็นหลายคดี
 การฟ้องคดีที่อัยการเป็นโจทก์ต้องได้ตัวผู้ต้องหามาส่งศาลด้วย
   กรณีที่ศาลฎีกาถือว่าจำเลยอยู่ในอำนาจศาลแล้ว
   กรณีที่ถือว่าผู้ต้องหามิได้อยู่ในอำนาจศาลที่อัยการยื่นฟ้อง
   หากไม่มีตัวผู้ต้องหามาพร้อมกับฟ้องของอัยการ

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://www.attorney285.com/product_571711_th


*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  http://www.attorney285.co.th/how2order *** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 
เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285   




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 


บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)



 

Sitemap 1 2 3