ผู้เขียน หัวข้อ: กฎหมายโทรคมนาคม จินตนา พนมชัยชยวัฒน์  (อ่าน 254 ครั้ง)

attorney285

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6360
    • ดูรายละเอียด
กฎหมายโทรคมนาคม จินตนา พนมชัยชยวัฒน์ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_781094_th_2402683กฎหมายโทรคมนาคม จินตนา พนมชัยชยวัฒน์
ผู้แต่ง : จินตนา พนมชัยชยวัฒน์
ปีที่พิมพ์ ครั้งที่ 1 : มีนาคม 2560
จำนวนหน้า: 216 หน้า
ขนาด : 18.5x26
รูปแบบ : ปกอ่อน
 
สารบัญ
 
บทที่ 1 พัฒนาการทางเทคโนโลยีและบริการกิจการโทรคมนาคม
  1.1 บทนำ
  1.2 พัฒนาการทางเทคโนโลยีโทรคมนาคมและบริการกิจการโทรคมนาคม
  1.2.1 ศตวรรษที่ 18-ศตวรรษ ที่19
  ก) ระดับโลก
  ข) ระดับประเทศ
  1.2.2 ศตวรรษที่ 19- ศตวรรษที่ 20
  ก) คุณลักษณะเฉพาะของทรัพย์พยากรคลื่นความถี่วิทยุ
  ข) พัฒนาการเทคโนโลยี อนาล็อค และรูปแบบกิจการโทรคมนาคม
  ค) พัฒนาการเทคโนโลยีดิจิทัลและอินเตอร์เน็ตกับรูปแบบกิจการโทรคมนาคม
  1.3 การขับเคลื่อนทางเทคโนโลยีและเศรษฐกิจศตวรรษที่ 20
  1.3.1 เทคโนโลยีหลอมรวมสื่อกับรูปแบบกิจการโทรคมนาคมใหม่ๆ
  1.3.2 ปัญหาและอุปสรรคในการให้บริการกิจการโทรคมนาคม
  1.3.3 การเปิดเสรีในการบริการกิจการโทรคมนาคมเพื่อรองรับกิจการโทรคมนาคมใหม่ๆ
  1.3.4 นโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีโทรคมนาคมในยุคดิจิทัล
 
บทที่ 2 นโยบายและกฎหมายโทรคมนาคม
  2.1 ระยะเริ่มต้น จนถึง พ.ศ2535
  2.1.1 รัฐเป็นผู้ดำเนินการจัดทำบริการสาธารณะ
  2.1.2 รัฐวิสาหกิจจัดทำกิจการโทรคมนาคม
  2.2 ระหว่างปี พ.ศ 2535- พ.ศ 2540
  2.2.1 หลักเกณฑ์ในการจัดทำบริการสาธารณะที่มีลักษณะทางพาณิชยกรรม
  2.2.2 การให้เอกชนเข้าดำเนินงานกิจการโทรคมนาคม
  2.2.3 การผูกขาดตลาดบริการกิจการโทรคมนาคม
  2.2.4 ปัญหาด้านกฎหมายและองค์กรบังคับใช้กฎหมาย
  2.3 ระหว่างปี พ.ศ 240 - พ.ศ 2557
  2.3.1 แนวความคิดรูปแบบองค์กรอิสระในการกำกับดูแล
  2.3.2 รูปแบบขององค์กรกำกับดูแล
  2.3.3 องค์กรกำกับดูแลอิสระ
 
บทที่ 3 องค์กรกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมและการจัดสรรทรัพยากร
  3.1 องค์กรกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคม
  3.1.1 การให้บริการกิจการโทรคมนาคมเพื่อพาณิชยกรรม
  3.1.2 อำนาจกึ่งตุลากรและการอุทธรณ์
  3.2 กฎเกณฑ์ในการกำกับดูแลบริการกิจการ
  3.2.1 การคุ้มครองการแข่งขัน (Compertition Safeguard)
  3.2.2 หลักการเชื่อมต่อเครือข่ายสำหรับบริการกิจการโทรคมนาคม
  3.2.3 หลักการใช้บริการอย่างทั่วถึง (Universal service)
  3.2.4 หลักการเข้าสู่ตลาด (Right to Access) และการออกใบอนุญาต (Licensing)
  3.3 บทบาทหน้าที่ในการจัดสรรทรัพยากร
  3.3.1 กระบวนการจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุ
  3.3.2 การแบ่งสรรคลื่นความถี่วิทยุ
  ก) คำแถลงนโยบายของรัฐหรือกฎระเบียบข้อบังคับ (National Policy Statement or Regulation)
  ข) แผนการจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุแห่งชาติ (National Spectrum Plan)
  ค) ตารางกำหนดความถี่วิทยุแห่งชาติ (Table Frequency Allocation)
  3.4 การออกใบอนุญาต
  3.4.1 นโยบายการออกใบอนุญาต
  3.4.2 ประเภทของใบอนุญาตประกอบกิจการ
  3.4.3 แนวปฎิบัติในการออกใบอนุญาต
  ก) หลักความโปร่งใส (Transparency)
  ข) การระดมความคิดเห็นสาธารณะ (Public Consuitation)
  ค) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต (License Fecs)
  ง) ความสมดุลของความเชื่อมั่นและความยืดหยุ่นในการปรับสมดุล (Blalancing Certaninty and Flexiblity)
  จ) การแยกใบอนุญาตออกจากการจัดซื้อจัดจ้าง (Distinguishing Licensing from Procurement)
  ฉ) พื้นที่ให้บริการ (Service Areas)
  ช) หลักเกณฑ์การพิจารณาคุณสมบัติ (Qualication Criteria)
  ซ) หลักเกณฑ์การคัดเลือก (Selection Criteria)
  ฌ) รายละเอียดการอนุญาตประกอบกิจการ (Contents of License)
  3.4.4 การแก้ไขปรับปรุงและการโอนสิทธิิในใบอนุญาตให้ใช้
 
บทที่4 กฎหมายโทรคมนาคมในประเทศสหรัฐอเมริกา
  4.1 พัฒนาการกฎหมายในการจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุ
  4.1.1 กฎหมายในระดับนโยบาย
  4.1.2 กำหมายในระดับบริหาร (Adminstrative Law)
  ก) ระยะเริ่มต้น - ก่อน ค.ศ.1934
  1. หลักกฎหมายว่าด้วยการให้บริการกิจการสาธารณูปโภค (Public Utility Regultion)
  2. หลักกฎหมายขนส่งสาธารณะ (Common Carrier Regulation)
  ข) ช่วงปี ค.ศ 1934 - ก่อน ค.ศ 1996
  1. หลักกฎหมายว่าด้วยการให้บริการทั่วถึงและเป็นสากล (Universal Service)
  2. หลักกฎหมายการกำกับดูแล
  ค) นับแต่ประกาศใช้รัฐบัญญัติว่าด้วยโทรคมนาคม ค.ศ 1996
  1. การให้บริการทั่วถึงและเป็นสากล (Universal Service)
  2. การเชื่อมต่อโครงข่าย (Interconnection)
  3. เปิดเสรีในตลาดบริการกิจการเคเบิ้ล
  4. เปิดเสรีในตลาดบริการกิจการโทรคมนาคมและการกำกับดูแล
  5. สภาพการแข่งขันในกิจการโทรคมนาคม
  4.2 องค์กรของรัฐในการกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคม
  4.2.1 คณะกรรมการกิจการสื่อสารแห่งรัฐบาลกลาง (FCC) 
  ก) หน่วยงาน (Bureau)
  ข) สำนักงาน (Ofce)
  4.2.2 สำนักงานบริหารข้อมูลข่าวสารและโทรคมนาคมแห่งชาติ (NTIA)
  ก) สำนักบริหารคลื่นความถี่ 
  ข) สำนักอื่นๆ
  4.2.3 การประสานงานระหว่าง FCC และ NTIA 
 
บทที่ 5 กฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง
  5.1 สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (Internation Telecommunication Union; ITU)
  5.1.1 โครงสร้างและหน่วยงานที่สำคัญของ ITU 
  ก) ที่มาของ ITU 
  ข) พัฒนาการโครงสร้างที่สำคัญ
  ค) หน่วยงานที่สำคัญของ ITU 
  5.1.2 หลักเกณฑ์ที่สำคัญพัฒนาจาก ITU 
  ก) หลักเกณฑ์ตามสนธิสัญญา 
  1. หลักใครมาก่อนได้ก่อน (First- Come,First-Served)
  2. หลักความเที่ยงธรรม (Equitable Access)
  3. หลักห้ามการรบกวนอย่างรุนแรง (Harmful interence)
  4. แนวความคิดแบ่งปันทรัพยากรสากล (Shared universal resource)
  ข) ข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศ (International Radio Regulation)
  ค) ตารางการจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุ(Table of Fregulation)
  ง) กฎเกณฑ์จารีตประเพณีระหว่างประเทศ 
  1. หลักอำนาจอธิปไตยถาวรเหนือทรัพยากรธรรมชาติ (Permanent Sovereignty Over Natural Resource)
  2. หลักทรัพยมรดกร่วมกันของมวลมนุษยชาติ (Common Heritage of Mankind)
  5.2 GATs 
 
  5.2.1 พัฒนาการที่สำคัญ GATs
  5.2.2 หน่วยงานที่สำคัญของ GATs
 5.2.3 หลักเกณฑ์ที่สำคัญพัฒนาจาก GATs
 
            5.3  องค์การระหว่างประเทศอื่นๆ ที่มีบทบาทในการกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคม
 
บรรณานุกรม
 
ดัชนีค้นคำ
 
แผนภาพ
 
แผนภาพที่ 1  พัฒนาการเทคโนโลยีโทรคมนาคมระดับโลก
แผนภาพที่ 2  การแบ่งเขตภูมิภาคของ ITU ที่จัดสรรคลื่นความถี่วิทยุสอดคล้องกับหลักปรภูมิ
แผนภาพที่ 3  ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมาย เศรษฐศาสตร์และเทคโนโลยีกับการจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์และโทรคมนาคม
แผนภาพที่ 4  เปรียบเทียบข้อมูลการเติบโตของของผู้ใช้บริการกิจการบรอดแบนด์ในกิจการเคลื่อนที่ และกิจการปรจำที่ และจำนวนผู้ใช้บริการ อินเตอร์เน็ตในปี พศ.2559 ใน 3 ภูมิภาคหลักๆของ                    ITU
แผนภาพที่ 5  เปรียบเทียบการเติบโตของผู้ของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตทุกๆ 5 ปีในภูมิภาค Asia - Pacic ของ ITU 
แผนภาพที่ 6  กฎหมายที่เกี่ยวข้องในกิจการโทรเลขและโทรศัพย์ วิทยุโทรศัพย์ และวิทยุกระจายเสียง
แผนภาพที่ 7  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ระยะแรก
แผนภาพที่ 8  หลักเกณฑ์การจัดทำบริการสาธารณะ
แผนภาพที่ 9  โครงสร้างองค์กรในการกำกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมที่สอดคล้องกับระบบตลาดเศรษฐกิจเสรี
แผนภาพที่10  การแบ่งแยกบทบาทของหน่วยงานที่จัดสรรคลื่นความถี่วิทยุและกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคม
แผนภาพที่11  วัตถุประสงค์ของการกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคม
แผนภาพที่12  บริหารกิจขการตามพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุ กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ 2553,มาตรา 4
แผนภาพที่13  ข้อดีของการคุ้มครองการแข่งขันในกิจการโทรคมนาคม
แผนภาพที่14  ทรัพยากรที่ต้องจัดสรรเพื่อกิจการโทรคมนาคม
แผนภาพที่15  การจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุตามกฎหมายจัดตั้งปี พ.ศ 2553
แผนภาพที่16  แผนแม่บทการบริหารที่มีตามกฎหมายจัดตั้งองค์กรปี พ.ศ 2553
แผนภาพที่17  ตารางกำหนดคลื่นความถี่ของประเทศไทยที่แปลและปรับใช้ในประเทศไทยโดย กสทช. ในประกาศปี 2558.
แผนภาพที่18  ตัวอย่างย่านความถี่ 49-1800 kHz สำหรับกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์
แผนภาพที่19  ตัวอย่างการจัดทำเชิงอรรถเฉพาะของประเทศไทย
แผนภาพที่20  วัตถุประสงค์ในการออกใบอนุญาตของประเทศต่างๆ
แผนภาพทีี่21  กิจการที่ใช้การประมูลคลื่นถวามถี่ตาม กฎหมายจัดตั้ง กสทช. ปี 2553
แผนภาพที่22  ประเภทของใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมตามพระราชบัญญัติประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ 2544
แผนภาพที่23  ประเภทและลักษณะของบริการสาธารณะกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์
แผนภาพที่24  ลักษณะกระบวนการทีึ่สำคัญในการออกใบอนุญาตเพื่อความโปร่งใส
แผนภาพที่25  การจำแนกปรเภทค่าธรรมเนียมใบอนุญาต
แผนภาพที่26  การแบ่งแยกอำนาจทั้ง 3 ด้านตามรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา
แผนภาพที่27  หน่วยงานของรัฐบาลกลางและองค์กรกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคม
แผนภาพที่28  พัฒนาการรัฐธรรมนูญและบทบัญญัติว่าด้วยสิทธิ
แผนภาพที่29  พัฒนาการหน่วยงานที่เกี่ยวกับกิจการโทรคมนาคม ระยะก่อน ค.ศ 1934
แผนภาพที่30  พัฒนาการทางกฎหมายในการจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุและกำกับกิจการโทรคมนาคม
แผนภาพที่31  การแบ่งขอบเขตความรับผิดชอบในการกำกับดูแลในประเทศสหรัฐอเมริกา
แผนภาพที่32  หน่วยงานหลัก7 หน่วยงาน (ฺBureau)  ของ FCC ก่อนปี ค.ศ1996
แผนภาพที่33  หน่วยงานหลัก7 หน่วยงาน (Bureau)   ของ FCC นับจากปี ค.ศ1996
แผนภาพที่34  โครงสร้างสำนักงานบริหารข้อมูลข่าวสารและโทรคมนาคมแห่งชาติ
แผนภาพที่35  โครงสร้างสำนักบริหารคลื่นความถี่ (The Ofce of Spectrum Management (OSM)) 
แผนภาพที่36  กฎเกณฑ์ตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่ประเทศไทยต้องอนุวัติการกฎหมาย
แผนภาพที่37  โครงสร้างและหน่วยงานหลัก ITU ตามกรรมสารหลักจัดตั้ง ITU ค.ศ 1996
แผนภาพที่38  การแบ่งแยกเขตภูมิภาคของ ITU ระดับโลก
แผนภาพที่39  ขอบเขตกฎหมายระหว่างประเทศกิจการโทรคมนาคมตามกรรมสารหลักจัดตั้ง ITU
แผนภาพที่ี40  กฎเกณฑ์ข้อบังคับตามกรรมสารหลักจัดตั้ง ITU ที่นำมาปรับใช้ในตารางกำหนดความถี่แห่งชาติ พ.ศ 2553 และ พ.ศ 2558
แผนภาพที่41  กฎเกณฑ์จารีตประเพณีระหว่างประเทศ ที่ปรากฎในธรรมนูญและอนุสัญญาระหว่างประเทศ ว่าด้วยสหภาพโทรคมนาคม และนำมาปรับใช้ในประเทศไทย
แผนภาพที่42  โครงสร้างองค์กการการค้าโลก
 
 
                                                                                                  สารบาญตาราง
 
 
ตารางที่ 1   กำหนดแถบย่านความถี่ที่เหมาะสมต่อการประยุกต์ใช้กิจการแต่ละประเภท
ตารางที่ 2   พัฒนาการเทคโนโลยีกิจการโทรศัพย์เคลื่อนที่และข้อจำกัดในการพัฒนา IG และ  2G     
ตารางที่ 3   เปรียบเทียบรูปแบบของบรอดแบรนด์และประโยชน์
ตารางที่ 4   พัฒนาการ 3G  และ  4G  ในกิจการโทรศัพย์และข้อจำกัดในการพัฒนา  
ตารางที่ 5   แผนภูมิทัศน์ของไทยในระยะเวลา 20 ปี ที่เสนอต่อ  ITU  แบ่งเป็น 4 ระยะ     
ตารางที่ 6   ตารางเปรียบเทียบรูปแบบองค์กรกำกับดูแลในผลการรายงานของ ITU เรื่ององค์กรกำกับดูแลที่เกิดขึ้นใหม่ในช่าวปี พ.ศ 2541 - 2543
ตารางที่ 7   เปรียบเทียบประเด็นพิจารณาสำคัญในการปรับปรุงกฎหมายจัดตั้งองค์กร ของรัฐที่เป็นอิสระ ตามรัฐธรรมนูญฯ ฉบับ พ.ศ.2540 และ 2550
ตารางที่ 8   แหล่งที่มาของเงินทุนจากค่าธรรมาเนียมใบอนุญาตตามกฎหมาย
ตารางที่ 9   อำนาจทั้ง 3 ด้านขององค์กรที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติขององค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม
                บับปีื พ.ศ.2553
ตารางที่10  การปรับใช้กฎเกณฑ์ WTO ในประเทศไทยในกฎหมาย  ระดับอนุบัญญัติ
ตารางที่11  เปรียบเทียบเนื้อหาของกฎเกณฑ์ที่ควรมีตามแนวทาง GATs กับกฎหมายไทย
ตารางที่12  หลักการสำคัญที่ควรมีในการออกใบอนุญาตตามแนวทาง GATs เทียบกับกรณีไทย
ตารางที่13  รูปแบบใบอนุญาตประเภทต่างๆ ตามรายงานการศึกษาของ ITU ปี พ.ศ.2543
ตารางที่14  บทบัญญัติที่กำหนดชัดเจนว่าใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่แยกออกจากใบอนุญาตประกอบกิจการ
ตารางที่15  บทบัญญัติที่มุ่งเน้นสร้างกลไกในการออกใบอนุญาตอย่างโปร่งใส
ตารางที่16  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการระดมความคิดเห็นก่อนออกกรอบระเบียบกฎเกณฑ์ 
ตารางที่17  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเก็บค่าธรรมเนียมในการใช้คลื่นความถี่และประกอบกิจการ
ตารางที่18  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความยืดหยุ่นและความสมดุลของใบอนุญาต
ตารางที่19  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเก็บค่าธรรมเนียมในการใช้คลื่นความถี่และประกอบกิจการ 
ตารางที่20  หลักเกณฑ์กำหนดคุณสมบัติตามกฎหมายไทย
ตารางที่21  ลักษณะสำคัญของวิธีการออกใบอนุญาตแต่ละประเภทที่อาจปรับใช้ตามกฎหมายไทย
ตารางที่22  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไข เปลี่ยนแปลงและโอนสิทธิในใบอนุญาต
ตารางที่23  หลักการห้ามรบกวนกันอย่างรุน (Harmful Interference) ในกฎหมายจัดตั้ง ฉบับปี พ.ศ 2543 และฉบับปี พ.ศ.2553
ตารางที่24  การปรับใช้กฎเกณฑ์ WTO ในประเทศๆไทยในกฎหมาย ระดับอนุบัญญัติ ที่ออกตามความในรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
ตารางที่25  องค์การระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับบริการกิจการโทรคมนาคม 

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://www.attorney285.com/product_781094_th


**** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  http://www.attorney285.co.th/how2order *** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 
เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285   




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 


บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)

 

Sitemap 1 2 3