ผู้เขียน หัวข้อ: กฎหมายมหาชนทางเศรษฐศาสตร์ : ทฤษฎี กฎ ในทางเศรษฐศาสตร์ ธรรมนิตย์ สุมันตกุล  (อ่าน 220 ครั้ง)

attorney285

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6360
    • ดูรายละเอียด
กฎหมายมหาชนทางเศรษฐศาสตร์ : ทฤษฎี กฎ ในทางเศรษฐศาสตร์ ธรรมนิตย์ สุมันตกุล


.

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_886724_th_4743771กฎหมายมหาชนทางเศรษฐศาสตร์ : ทฤษฎี กฎ ในทางเศรษฐศาสตร์ ธรรมนิตย์ สุมันตกุล 
ผู้แต่ง : ธรรมนิตย์ สุมันตกุล
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 1 : พฤษภาคม 2560
จำนวนหน้า : 240 หน้า
ขนาด : 14.5x21 ซม.A5
รูปแบบ : ปกอ่อน
 
หนังสือเล่มนี้อธิบายว่ากฎหมายมหาชนทำหน้าที่แทรกแซงเศรษฐกิจอย่างไรด้วยกลไกและวัตุประสงค์ฝด โดยจะได้ชี้ให้เห็นถึงแนวทางของการหาทางเลือกในการร่างกฎหมายที่มีประสิทธิภาพ (Efficiency) และหลีกเลี่ยงหรือลดต้นทุน (Cost) ที่จะมีในกฎหมาย และชี้ให้เห็นว่าอะไรคือความคุ้มค่าในการควบคุมพฤติกรรมด้วยมุมมองของเศรษฐศาสตร์ นอกจากนี้ยังมีส่วนที่เกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กับการร่างกฎหมายและหลักกฎหมายที่อาจเรียกได้ว่าเป็น "หลักกฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจ"
 
สารบัญ
 
ภาค 1 บทนำและทฤษฎี 
บทที่ 1 ทฤษฎี กฎ ในทางเศรษฐศาสตร์ (Theory of Regulation)
1.1  ความหมายของ กฎ (regulation) ในทางเศรษฐศาสตร์ 
1.2  การให้เหตุผลทางเศรษฐศาสตร์ 
1.3  ขอบเขตและรูปแบบของกฎในทางเศรษฐศาสตร์ 
1.4  บทบาทของกฎในศตวรรษที่ 20 และ 21
บทที่ 2 กฎหมายเอกชนกับตลาด 
2.1  บทบาทของเสรีภาพในการแสดงเจตนา 
2.2  เครื่องมือทางกฎหมายที่ช่วยลดต้นทุนปฏิบัติการ (Transaction Cost) ในตลาด 
2.3  ผลจากการกระทำต่อบุคคลที่สาม (Third Party Effects)
2.4  ข้อสันนิษฐานและข้อจำกัดของตลาด 
บทที่ 3 บทบาทของกฎหมายมหาชนในการรักษาประโยชน์สาธารณะ
3.1  คำอธิบายการรักษาประโยชน์สาธารณะด้วยเหตุผลทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Goals) 
3.2  คำอธิบายด้วยเหตุผลนอกเหนือเศรษฐศาสตร์ (Non-Economic Goals)
บทที่ 4 ทฤษฎีทางเลือกร่วมกันของส่วนรวม (Public Choice Theory)
4.1  วิธีการศึกษา 
4.2  ความคิดพื้นฐาน 
4.3  ความแตกต่างระหว่าง ตลาดเศรษฐศาสตร์ กับตลาดการเมือง 
4.4  การแลกเปลี่ยนในตลาดการเมือง 
ภาค 2 ปัญหาทั่วไป 
บทที่ 5 บทกำหนดโทษ 
5.1  ความเบื้องต้น 
5.2  หลักการลงโทษกรณีฝ่าฝืนกฎ 
5.3  การบังคับการและการทำให้มีการปฎิบัติตาม 
5.4  ความล้มเหลวของแบบจำลองการปราบปราม 
บทที่ 6 การออกกฎในระบบกฎหมายต่างๆ สถาบัน และการควบคุมความรับผิดชอบในการออกกฎ 
6.1  บริบทรัฐธรรมนูญ 
6.2  บริบทกฎหมายปกครอง 
6.3  จารีตและแนวทางในการออกกฎของแต่ละประเทศ 
6.4  กรอบสถาบันในการออกกฎ 
6.5  การควบคุมดุลพินิจ (Discretion)
6.6  ความรับผิดชอบ (Accountability)
6.7  ความชอบของอำนาจในการออกกฎ 
6.8  ความรับผิดชอบของผู้มีอำนาจควบคุมกฎ (Accountability of Regulators)
บทที่ 7 การเยียวยาความเสียหายแก่กลุ่ม และการช่วยเหลืออำนาจต่อรองของผู้เสียหาย 
7.1  การดำเนินคดีแบบกลุ่ม (Class Action)
7.2  ต้นทุนดำเนินการการดำเนินคดีแบบกลุ่ม 
7.3  ค่าเสียหายเชิงลงโทษ (Punitive Damages)
7.4  การคำนวณค่าเสียหายเชิงลงโทษ 
7.5  ปัญหาการลงโทษค่าเสียหายเชิงลงโทษในกรณีผู้ก่อความเสียหายเป็นนิติบุคคล 
ภาค 3 กฎในทางสังคม 
บทที่ 8 กฎเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูล  (Information Regulation)
8.1  ความทั่วไป
8.2  เหตุใดจึงต้องแทรกแซงทางด้านข้อมุลข่าวสาร 
8.3  การบังคับให้แจ้งหรือเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร (Mandatory Price Disclosure)
8.4  มาตรการป้องกันการให้ข้อมูลข่าวสารที่ผิด 
บทที่ 9 การกำหนดมาตรฐาน (Standard)
9.1  บททั่วไป 
9.2  ประโยชน์แก่ส่วนรวมในการกำหนดมาตรฐาน 
9.3  การประเมิณประโยชน์ของการมีมาตรฐาน 
9.4  การประเมิณต้นทุนและประโยชน์ (Cost - Effectiveness)
9.5  หลักในการกำหนดมาตรฐาน 
9.6  ผลประโยชน์ส่วนตนมีอิทธิพลต่อการกำหนดมาตรฐานเพียงใด 
9.7  กรอบความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการกำหนดมาตรฐาน 
บทที่ 10 ใบอนุญาตก่อนดำเนินการ 
10.1  ใบอนุญาตการประกอบกิจการ (Licensing of Professional Occupation)
10.2  ใบอนุญาตประกอบกิจการค้า (Licensing of Occupation and Commercial Activities) 
ภาค 4 กฎในทางเศรษฐกิจ 
บทที่ 11 เครื่องมือในทางเศรษฐศาสตร์ (Econmic Instruments)
11.1  กฎในรูปแบบของเครื่องมือในทางเศรษฐศาสตร์  (Econmic Instruments - Els)
11.2  การประเมิณการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ 
11.3  ข้อพิจารณาทางการเมือง (Political and Private Interest Considerations)
บทที่ 12 การกำหนดสิทธิที่ไม่สามารถโอนกันได้ (Inalienable Right )
บทที่ 13 กิจการที่เป็นของรัฐ (Publice Ownership)
13.1  รูปแบบของการลงทุนดำเนินการโดยรัฐ
13.2  กิจการที่เอกชนดำเนินการ กิจการที่รัฐดำเนินการและข้อจำกัดทางตลาด
13.3  ข้อจำกัดของกิจการที่รัฐดำเนินการทำให้ต้องมีกฎหมาย (Legal Constraints)
13.4  ประสิทธิภาพของรัฐวิสาหกิจ (Allocative Efficiency)
13.5  ผลกระทบจากความสัมพันธ์ระหว่างการผูกขาดกับราคา 
13.6  การแปรรูปกิจการของรัฐเป็นกิจการเอกชน (Privatization)
บทที่ 14 การควบคุมราคา (Price Controls)
14.1  การควบคุมราคาเพื่อวัตถุประสงค์ในการกระจายสินค้า 
14.2  การควบคุมราคาสินค้าและบริการในตลาดที่มีการผูกขาด (รัฐวิสาหกิจที่แปรรูป) 
บทที่ 15 สัมปทานและเเฟรนไชส์ในภาครัฐ (Publice Franchiese Allocation)
15.1  ความทั่วไป 
15.2  เหตุผลของการใช้ระบบแฟรนไชส์ 
15.3  ข้อพิจารณาการใช้ระบบแฟรนไชส์ ภาครัฐ
15.4  กระบวนการพิจารณา คัดเลือก และทำสัญญา 
บทที่ 16 การประกอบการในรูปเครือข่าย (Network Industries ) และการแข่งขันทางการค้า
16.1  การกระจายกิจกรรม (Unbundling) เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการแข่งขัน 
16.2  การควบคุมราคา 
ภาค 5 บทสรุป 
บทที่ 17 อนาคตของกฎ 
บรรณานุกรม
ภาคผนวก 
1.  ความสำคัญของ สถาบัน ในความหมายของเศรษฐศาสตร์ สำนัก  New Institution ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและการบังคับใช้กฎหมาย 
2.  ทฤษฎีบรรษัท (Theories of the Firm)กลไกการ ทำงานของนิติบุคคล 
3.  ธุรกิจแฟรนไชส์ ทำไม และเพื่ออะไร
ดัชนีค้นคำ

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://www.attorney285.com/product_886724_th


*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  http://www.attorney285.co.th/how2order *** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 
เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285   




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 


บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)



 

Sitemap 1 2 3