ผู้เขียน หัวข้อ: กฎหมายอาญา ภาคความผิด เล่ม 3 เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์  (อ่าน 185 ครั้ง)

attorney285

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6360
    • ดูรายละเอียด
กฎหมายอาญา ภาคความผิด เล่ม 3 เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_571709_th_2411459กฎหมายอาญา ภาคความผิด เล่ม 3 เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์
ผู้แต่ง : เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 2 : พฤศจิกายน 2555
จำนวนหน้า: 556 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
 
สารบัญ
 
บทที่ ๑ หลักเกณฑ์พื้นฐานของความผิดฐาน
- ลักทรัพย์ ยักยอก ฉ้อโกง
- ความผิดฐานลักทรัพย์
- ความผิดฐานยักยอก
- ความผิดฐานฉ้อโกง
- ความแตกต่างระหว่าง “ฉ้อโกง” และ “ลักทรัพย์โดยใช้อุบาย”
บทที่ ๒ ความผิดฐานลักทรัพย์
- องค์ประกอบภายนอก
- ทรัพย์นั้นต้องเป็นของผู้อื่น หรือผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย (กรรมสิทธิ์รวม)
- ผู้กระทำ “เอาไป” ซึ่งทรัพย์นั้น
- ทรัพย์นั้นต้องมีผู้อื่นครอบครองอยู่ในขณะนั้น
- ทรัพย์สินหายคือทรัพย์ที่ไม่มีผู้ครอบครอง
- คำพิพากษาฎีกาที่วินิจฉัยว่าทรัพย์ที่ตกหายนั้นยังมีผู้ครอบครองอยู่ไม่ใช่
- ทรัพย์สินหาย
- เช่าที่ดินทำไร่แล้วขุดดินไปขาย
- การครอบครองคำพิพากษาฎีกาที่วินิจฉัยว่าทรัพย์อยู่ในความครอบครองของผู้อื่น
- ผู้ที่เอาไปโดยทุจริตผิดฐานลักทรัพย์คำพิพากษาฎีกาและตัวอย่างต่าง ๆ ที่วินิจฉัยว่าทรัพย์อยู่ในความครอบครองของผู้กระทำ จึงผิดฐานยักยอก
- การครอบครองอาจเกิดจากการลักทรัพย์ ยักยอก ฉ้อโกง ก็ได้
- ผู้กระทำต้องเข้าครอบครองทรัพย์ที่ลักหากหยิบทรัพย์ไปทำลายโดยไม่มีการครอบครอง
- ทรัพย์ ก็ผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
- การเอกทรัพย์ของผู้อื่นไปทิ้งแม่น้ำ
- ตัวอย่างที่ถือว่าผู้กระทำมิได้ครอบครองทรัพย์นั้นแล้วต่อมาจึงทำลายทรัพย์นั้น
- ตัวอย่างที่ถือว่าผู้กระทำมิได้ครอบครองทรัพย์นั้น
- กรณีที่การเข้าครอบครองทรัพย์ยังกระทำไปไม่ครบถ้วน
- ผู้กระทำต้องเข้าครอบครองทรัพย์โดยแย่งการครอบครอง
- เอาทรัพย์ที่มีผู้ส่งมอบให้โดยสำคัญผิดไป
- การหลอกเอาการครอบครองเป็นการ “แย่งการครอบครอง”
- ลักทรัพย์โดยใช้อุบาย
- การหลอกเอากรรมสิทธิ์เป็นฉ้อโกง
- การข่มขู่ให้ส่งทรัพย์ให้ก็เป็นการแย่งการครอบครอง
- ผู้กระทำพาทรัพย์เคลื่อนที่ไปในลักษณะที่เป็นการตัดกรรมสิทธิ์
- ผู้กระทำพาทรัพย์นั้นเคลื่อนที่ไปทรัพย์ซึ่งติดตรึงอยู่กับสิ่งอื่น การลักทรัพย์สำเร็จเมื่อใด
- คำพิพากษาฎีกาที่วินิจฉัยว่าเป็นการลักทรัพย์สำเร็จ
- คำพิพากษาฎีกาที่วินิจฉัยว่าเป็นพยายามลักทรัพย์
- กรณีทรัพย์นั้นถูกโซ่ล่าม หรือมีเชือกผูกอยู่กับสิ่งอื่น
- กรณีทรัพย์สวมอยู่ที่คอ หรือใส่อยู่ที่ข้อมือ
- ผู้กระทำพาทรัพย์เคลื่อนที่ไปในลักษณะที่เป็นการตัดกรรมสิทธิ์ของเจ้าของทรัพย์ตลอดไป ไม่ใช่แต่เพียงเอาไปชั่วคราว
- ต้องทำให้ทุก ๆ จุดของทรัพย์เคลื่อนที่ต้องเป็นการ “เอาไป” โดยลักษณะที่เป็นการตัดกรรมสิทธิ์ของเจ้าทรัพย์ตลอดไป
- เจ้าของรวมคนหนึ่งเอาทรัพย์ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์รวมไปขายโดยเจ้าของรวมอีกคนหนึ่งไม่ได้อนุญาต
- การใช้ทรัพย์ตามสภาพของทรัพย์ ไม่ผิดฐานลักทรัพย์และไม่ผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
- การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ไปแล้ว ต่อมามีการกระทำเกี่ยวกับทรัพย์ชิ้นนั้นอีก จะผิดฐานใดอีกหรือไม่
- องค์ประกอบภายใน
- เจตนาธรรมดา (ประสงค์ต่อผล หรือเล็งเห็นผล)
- เจตนาพิเศษ (โดยทุจริต)
บทที่ ๓ ความผิดฐาน “ยักยอก”
- ความผิดมาตรา ๓๕๒ วรรคหนึ่ง
- ข้อแตกต่างระหว่างลักทรัพย์และยักยอก
- คำพิพากษาฎีกาวินิจฉัยว่าผู้กระทำ “ครอบครองทรัพย์”
- คำพิพากษาฎีกาวินิจฉัยว่าผู้กระทำมิได้ “ครอบครองทรัพย์”
- ทรัพย์ที่ยักยอกต้องเป็นทรัพย์ของผู้อื่น หรือผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย
- ทรัพย์ที่ยักยอกอาจเป็นทรัพย์ที่ผู้ยักยอกเป็นเจ้าของรวมก็ได้
- เจ้าของรวมคนหนึ่งอาจครอบครองทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์รวมแทนเจ้าของรวมอีกคนหนึ่ง
- เจ้าของรวมคนหนึ่งอาจไม่ได้ครอบครองทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์รวมแทนเจ้าของรวมอีกคนหนึ่ง
- การเอาเงินไปลงทุนร่วมกับผู้อื่น เงินนั้นอาจเป็นของผู้อื่น
- เจ้าหนี้ร่วมคนหนึ่งรับเงินจากลูกหนี้
- รับเงินไว้ในฐานะผู้ขาย
- รับเงินไว้เพื่อจัดการอย่างใดอย่างหนึ่งเบียดบังเงินเป็นยักยอกได้
- เบิกเงินค่าใช้จ่ายใช้สอยล่วงหน้า
- ผู้เช่าซื้อเบียดบังทรัพย์ที่เช่าซื้อ
- ทรัพย์ที่ยักยอกอาจเป็น “อสังหาริมทรัพย์” ก็ได้
- ความหมายของการ “เบียดบัง”
- การใช้อำนาจเป็นเจ้าของต่อทรัพย์
- การรับของไปขาย
- ในฐานะตัวแทนไม่ใช้ในฐานะตัวแทนแต่ในลักษณะที่มีสิทธิขายเป็นของตนเอง
- คำพิพากษาฎีกาที่วินิจฉัยว่ารับของมาขายอย่างเป็นของตนเอง
- สรุปหลักในเรื่องการขายอย่างเป็นตัวแทนและการขายอย่างเป็นของตนเอง
- ความผิดฐานยักยอกตามมาตรา ๓๕๒ วรรคแรก มีพยายามไม่ได้
- ความผิดฐานยักยอกตามมาตรา ๓๕๓ มีพยายามกระทำความผิดได้
- ยักยอกทรัพย์สินหาย (มาตรา ๓๕๒ วรรคสอง)
- เหตุผลที่ไม่ผิดฐานลักทรัพย์
- อย่างไรจึงจะถือว่าเป็นทรัพย์สินหาย
- ทรัพย์สินหายไม่ใช่ทรัพย์ไม่มีเจ้าของ
- บรรทัดฐานของศาลฎีกาที่ถือว่าการเก็บเอาของตกหายเป็นของตนหรือของผู้อื่นโดยทุจริต จะเป็นลักทรัพย์หรือจะเป็นยักยอกทรัพย์สินหาย
- ความจริงไม่ใช้ทรัพย์สินหายแต่ผู้เก็บเข้าใจว่าเป็นทรัพย์ที่มีผู้ครอบครอง
- คำพิพากษาฎีกาที่ไม่ถือว่าของที่ตกเป็นทรัพย์สินหาย
- คำพิพากษาฎีกาที่ถือว่าเป็นทรัพย์สินหาย
- ผู้ยักยอกทรัพย์สินหายไม่ใช่ผู้เก็บได้ก็ผิดมาตรา ๓๕๒ วรรคหนึ่งไม่ใช่วรรคสอง
- หน้าที่ของผู้เก็บได้ซึ่ง “ทรัพย์สินหาย” ของตกหายในที่ดินเอกชนเป็นทรัพย์สินหายหรือไม่
- ทรัพย์ตกอยู่ในความครอบครองของผู้กระทำความผิดเพราะผู้อื่นส่งมอบโดยสำคัญผิด (มาตรา ๓๕๒ วรรคสอง) 
- หากสำคัญผิดในมูลเหตุ ไม่ใช่กรณีตามมาตรา ๓๕๒ วรรคสอง
- หลอกเอากรรมสิทธิ์ หลอกเอาการครอบครอง หลอกให้มีการส่งมอบทรัพย์ให้โดยสำคัญผิด
- ผู้มิได้ครอบครองทรัพย์เป็น “ตัวการ” ร่วมกับผู้ครองครองทรัพย์ในการยักยอกได้
 บทที่ ๔ ความผิดฐาน “ฉ้อโกง”
- หลอกลวงด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จ
- การกล่าวข้อความในอนาคต
- ต้องมีเจตนาหลอกลวงตั้งแต่แรก
- ผู้กล่าวถ้อยคำมีความตั้งใจตั้งแต่แรกขณะกล่าวถ้อยคำนั้นว่าจะไม่ปฏิเสธตามคำกล่าวนั้นเลย
- คำพิพากษาฎีกาที่วินิจฉัยว่าเป็นตัวการในการฉ้อโกง
- หลอกลวงด้วยการปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้ง
- ได้ไปซึ่งทรัพย์สินหมายความว่าได้ไปในลักษณะโอนกรรมสิทธิ์
- หลอกเอาการครอบครองเป็นลักทรัพย์โดยใช้อุบาย
- ผู้หลอกได้ไปซึ่ง “ทรัพย์สิน” จากผู้ถูกหลอกหรือบุคคลที่สาม
- ทรัพย์นั้นเป็นของผู้หลอกเอง
- ผู้หลอกลวงมีสิทธิจะเรียกร้องเอาทรัพย์นั้นได้โดยชอบด้วยกฎหมาย
- ผู้กระทำหลอกลวงทรัพย์ไปเป็นการกระทำอัน “ฝ่าฝืนกฎหมาย” หรือ “ฝ่าฝืนศีลธรรมอันดี”
- คำพิพากษาฎีกาที่ตัดสินว่า ผู้หลอกไม่ใช่ “ผู้เสียหาย”
- คำพิพากษาฎีกาที่ตัดสินว่าผู้ถูกหลอกเป็น “ผู้เสียหาย”
- ผู้หลอกได้ไปซึ่งทรัพย์สินจากบุคคลที่สามก็ได้
- ฉ้อโกงโดยพลาด
- ผู้ที่ได้ทรัพย์สินไปเพราะการหลอกอาจเป็นบุคคลที่สามก็ได้
- ความสัมพันธ์ระหว่าง “การกระทำ” และ “ผล” ในความผิดฐานฉ้อโกง
- ความผิดสำเร็จเมื่อใด
- ผู้ถูกหลอกลวง หรือบุคคลที่สาม “ทำ” “ถอน” หรือ “ทำลาย” เอกสารสิทธิ
- องค์ประกอบภายใน (เจตนาธรรมดา และเจตนาพิเศษ)
- โดยทุจริต
- การใช้เอกสารปลอมบางกรณีก็เป็นความผิดฐานฉ้อโกงด้วย
- ขายของโดยหลอกลวงตาม ป.อ. มาตรา ๒๗๑ ต้องไม่เป็นความผิดฐานฉ้อโกง
 บทที่ ๕ ความผิดฐานลักทรัพย์ ตามมาตรา ๓๓๕ และมาตรา ๓๓๕ ทวิ
- ความผิดฐานลักทรัพย์ ตามมาตรา ๓๓๕ (“เหตุฉกรรจ์” ของการลักทรัพย์ ตามมาตรา ๓๓๔)
- อนุมาตรา ๑ “ในเวลากลางคืน”
- อนุมาตรา ๒
- อนุมาตรา ๓
- อนุมาตรา ๔
- อนุมาตรา ๕
- อนุมาตรา ๖
- อนุมาตรา ๗
- โดยมีอาวุธ
- ความหายของ “อาวุธ”
- อาวุธโดยสภาพ
- สิ่งซึ่งไม่เป็นอาวุธโดยสภาพ
- ลักษณะของการลักทรัพย์โดยมีอาวุธ
- ร่วมกระทำความผิดด้วยกันสองคนขึ้นไป
- อนุมาตรา ๘
- ในเคหะสถาน
- ความหมายของเคหะสถาน
- เข้าไปโดยไม่ได้รับอนุญาต
- ความหมายของคำว่า “เข้าไป”
- เปรียบเทียบกับการ “เข้าไป” ในเคหสถานในความหมายของการบุกรุกตามมาตรา ๓๖๔
- ลักทรัพย์ในเคหะสถานเป็นความผิดสำเร็จเมื่อใด
- ข้อเท็จจริงที่ถือว่าเป็นการพยายามลักทรัพย์ในเคหสถาน
- ในสถานที่ราชการ
- ในสถานที่ที่จัดไว้ให้เพื่อให้บริการสาธารณ
- ซ่อนตัวอยู่ในที่นั้น
- อนุมาตรา ๙
- ร่างกายของผู้ลักไม่ต้องเข้าไปทั้งตัวก็ได้
- อนุมาตรา ๑๐
- อนุมาตรา ๑๑
- อนุมาตรา ๑๒
- ลักทรัพย์ตามมาตรา ๓๓๕ วรรคแรก สองอนุมาตราขึ้นไป (มาตรา ๓๓๕ วรรคสอง)
- ลักทรัพย์ตามมาตรา ๓๓๕ วรรคสาม
- มาตรา ๓๓๕ วรรคสี่
- การเรียกวรรคต่าง ๆ ของมาตรา ๓๓๕
- มาตรา ๓๓๕ ทวิ ลักพระพุทธรูป หรือวัตถุในทางศาสนา
- มาตรา ๓๓๕ ทวิ วรรคสอง
 บทที่ ๖ ความผิดฐานยักยอกทรัพย์ ตามมาตรา ๓๕๓ มาตรา ๓๕๔ และมาตรา ๓๕๕
- จัดการทรัพย์สินของผู้อื่นผิดหน้าที่ (มาตรา ๓๕๓)
- ความแตกต่างระหว่างยักยอกตามมาตรา ๓๕๒ วรรคแรก และการจัดการทรัพย์สินของผู้อื่นผิดหน้าที่ตามมาตรา ๓๕๓
- คำพิพากษาวินิจฉัยว่าไม่เป็นผู้ได้รับมอบหมายให้การจัดการทรัพย์สิน- คำพิพากษาฎีกาที่วินิจฉัยว่าได้รับมอบหมายในการจัดการทรัพย์สิน
- ความหมายของคำว่ากระทำผิดหน้าที่เสียหายแก่ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สินความผิดตามมาตรา ๓๕๓ มีการพยายามกระทำความผิดได้
- กรณีที่ถือว่าไม่เกิดความเสียหาย
- องค์ประกอบภายใน
- เหตุฉกรรจ์ของมาตรา ๓๕๒ และมาตรา ๓๕๓ (มาตรา ๓๕๔)
- ผู้จัดการทรัพย์สินของผู้อื่นตามคำสั่งศาล
- ผู้จัดการทรัพย์สินตามพินัยกรรม
- ผู้มีอาชีพหรือธุรกิจอันย่อมเป็นที่ไว้วางใจของประชาชน
- บุคคลที่ไม่ใช่ผู้มีอาชีพหรือธุรกิจอันย่อมเป็นที่ไว้วางใจของประชาชน
- พ่อค้าร่วมกับผู้จัดการธนาคารในการยักยอกทรัพย์ของธนาคาร
- บุคคลภายนอกร่วมกับผู้จัดการมรดกยักยอกทรัพย์มรดก
- ยักยอกสังหาริมทรัพย์อันมีค่า (มาตรา ๓๕๕)
 บทที่ ๗ ความผิดฐานฉ้อโกง ตามมาตรา ๓๔๒ ถึงมาตรา ๓๔๗
- มาตรา ๓๔๒
- ฉ้อโกงโดยการแสดงตนเป็นคนอื่น
- อาศัยความเบาปัญญาของผู้ถูกหลอกลวงซึ่งเป็นเด็กหรืออาศัยความอ่อนแอแห่งจิตของผู้ถูกหลอกลวง
- ฉ้อโกงประชาชน (มาตรา ๓๔๓)
- ข้อเท็จจริงที่ถือว่าเป็นการฉ้อโกงประชาชน
- ข้อเท็จจริงที่ไม่ถือว่าเป็นการฉ้อโกงประชาชน
- มาตรา ๓๔๓ วรรคสอง (เหตุฉกรรจ์ของวรรคแรก)
- ฉ้อโกงแรงงาน (มาตรา ๓๔๔)
- ฉ้อโกงเงินค่าอาหาร ค่าเครื่องดื่ม หรือค่าอยู่ในโรงแรม (มาตรา ๓๔๕)
- องค์ประกอบภายใน
- ฉ้อโกงโดยการชักจูงให้ผู้อื่นจำหน่ายทรัพย์สินโดยเสียเปรียบ (มาตรา ๓๔๗)
 บทที่ ๘ ความผิดฐาน “วิ่งราวทรัพย์” (มาตรา ๓๓๖)
- ฉกฉวยเอาซึ่งหน้า
- คำพิพากษาฎีกาที่วินิจฉัยว่าเป็นการวิ่งราวทรัพย์
- “ผลฉกรรจ์” ของการวิ่งราวทรัพย์ (มาตรา ๓๓๗ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่)
 บทที่ ๙ ลักทรัพย์และวิ่งราวทรัพย์โดยวิธีการพิเศษ (มาตรา ๓๓๖ ทวิ)

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://www.attorney285.com/product_571709_th


**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 

 

Sitemap 1 2 3