ผู้เขียน หัวข้อ: ครบเครื่อง เรื่องคดีอาญาทุจริต สรารักษ์ สุวรรณเสรี และ อาคม ศรียาภัย  (อ่าน 253 ครั้ง)

attorney285

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6360
    • ดูรายละเอียด
ครบเครื่อง เรื่องคดีอาญาทุจริต สรารักษ์ สุวรรณเสรี และ อาคม ศรียาภัย




ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_571709_th_3755025
ครบเครื่อง เรื่องคดีอาญาทุจริต คดีที่อยู่ในอำนาจของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ โดย สรารักษ์ สุวรรณเสรี และ อาคม ศรียาภัย
ผู้แต่ง : สรารักษ์ สุวรรณเสรี และ อาคม ศรียาภัย
ปีที่พิมพ์ ครั้งที่ 1 : พฤษภาคม 2560
จำนวนหน้า: 432 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซ.ม. 
รูปแบบ : ปกอ่อน
 
สารบัญ
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 การจัดตั้งศาลอาญาคดีทุจริตฯ ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ เขตอำนาจ และองค์คณะพิจารณาพิพากษาคดี 
1.  ศาลอาญาคดีทุจริต 
1.1  การจัดตั้ง
1.2  เขตอำนาจศาล
1.3  องค์คณะพิจารณาพิพากษาคดี 
2.  ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ 
2.1  การจัดตั้ง
2.2  เขตอำนาจ 
2.3  องค์คณะพิจารณาพิพากษาคดี 
2.3.1  ที่มา คุณสมบัติและจำนวนขององค์คณะ 
2.3.2  การคัดค้านองค์คณะผู้พิพากษา 
2.3.3  กรณีไม่อาจนั่งพิจารณาครบองค์คณะได้ 
2.3.4  การออกคำสั่งที่มิได้เป็นการวินิจฉัยชี้ขาดคดี
2.3.5  การพ้นหน้าที่ในคดี 
บทที่ 3  คดีที่อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลอาญาคดีทุจริตฯและศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ 
1.  คดีที่อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลอาญาคดีทุจริตฯ 
1.1  คดีทุจริตและประพฤติมิชอบ
1.1.1  คดีมาตรา 3 วรรคสอง (1)
1.1.2  คดีมาตรา 3 วรรคสอง (2)
1.1.3  คดีมาตรา 3 วรรคสอง (3)
1.1.4  คดีมาตรา 3 วรรคสอง (4) 
1.1.5  คดีมาตรา 3 วรรคสอง (5)
1.1.6  คดีมาตรา 3 วรรคสอง (6)
1.1.7  คดีมาตรา 3 วรรคสอง (7)
1.1.8  คดีมาตรา 3 วรรคสอง (8)
1.2  คดีกฎหมายกำหนดให้อยู่ในอำนาจของศาลอาญาคดีทุจริตฯ
1.3  คดีอาญาที่เป็นการกระทำอันเป็นกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบทหรือหลายกรรมต่างกัน 
1.3.1  การกระทำอันเป็นกรรมเดียวเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบท 
1.3.2  กรณีเป็นความผิดหลายกรมมต่างกัน 
1.4  คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา 
1.5  กรณีมีข้อขัดแย้งเกี่ยวกับอำนาจศาล
2.  คดีที่อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีของศาลฎีกาแผนกอาญาฯ 
2.1  คดีอาญา 
2.1.1  คดีที่กล่าวหานายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือข้าราชการเมืองอื่น กระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ฯ 
2.1.2  คดีซึ่งประธานวุฒิสภาส่งคำร้องให้ศาลพิจารณาพิพากษาข้อกล่าวหาว่ากรรมการ ป.ป.ช. กระทำความผิดฐานทุจริตต่อ หน้าที่หรือกระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ 
2.1.3  การกระทำความผิดอันเป็นกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท 
2.2  คดีร่ำรวยผิดปกติ
2.3  คดีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ 
2.4  คดีปกปิดทรัพย์สินหรือคดีเกี่ยวกับการจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน 
2.4.1  ผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน 
2.4.2  วิธีการยื่นและกำหนดระยะเวลาที่ต้องยื่น 
2.4.3  ผลของการไม่ยื่นบัญชีหรือยื่นบัญชีเท็จ 
2.5  คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา 
บทที่ 4  คู่ความในศาลอาญาคดีทุจริตฯ และศาลฎีกาแผนกอาญาฯ 
1.  คู่ความในศาลอาญาคดีทุจริตฯ
1.1  ผู้มีอำนาจฟ้องคดี
1.1.1  อัยการสูงสุด 
1.1.2  ประธานกรรมการ ป.ป.ช.
1.1.3  คณะกรรมการ ป.ป.ช.
1.1.4  พนักงานอัยการ 
1.1.5  ผู้เสียหาย 
1.2  ผู้ถูกฟ้องคดี 
1.2.1  เจ้าหน้าที่ของรัฐ 
1.2.2  บุคคลทั่วไป
2.  คู่ความในศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ 
2.1  ผู้มีอำนาจฟ้องคดี 
2.1.1  อัยการสูง
2.1.2  คณะกรรมการ ป.ป.ช
2.2 ผู้ถูกฟ้องคดี
2.2.1  บุคคลผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีฯ 
2.2.2  กรรมการ ป.ป.ช.
2.2.3  นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือข้าราชการเมืองอื่น หรือ ผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นตามที่กฎหมายบัญญัติ 
2.2.4  ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ 
บทที่ 5  วิธีพิจารณาคดีของศาลอาญาคดีทุจริตฯ เปรียบเทียบกับคดีอาญาทั่วไป และของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ 
ส่วนที่ 1  พ.ร.บ. วิธีพิจารณาคดีทุจริตฯ 
หมวด 1 หลักทั่วไป
1.  ระบบการพิจารณาคดีและการบังคับใช้กฎหมาย 
2.  การมอบหมายให้เจ้าพนักงานคดีช่วยเหลือศาลในการดำเนินคดี 
2.1  เรื่องที่ศาลอาจมอบหมายให้เจ้าพนักงานคดีดำเนินการ
2.2  อำนาจของเจ้าพนักงานคดี
3.  การแก้ไขการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ไม่ถูกต้อง
4.  การย่นหรือขยายระยะเวลา 
5.  การส่งสำเนาเอกสารต่อศาลและคู่ความฝ่ายอื่น 
6.  การคัดคำเบิกความพยานและรายงานกระบวนพิจารณา
7.  สิทธิได้รับค่าป่วยการพยาน ค่าพาหนะเดินทาง ค่าเช่าที่พัก และค่าใช้จ่ายอื่น 
8.  อายุความ 
8.1  มิให้นับระยะเวลาหลบหนีเป็นส่วนหนึ่งของอายุความ 
8.2  มิให้นำมาตรา 98 ป.อ. มาใช้บังคับคดี 
9.  ความผิดฐานหลบหนีระหว่างได้รับการปล่อยชั่วคราว 
หมวด 2  วิธีพิจารณาในศาลชั้นต้น 
1. การฟ้องคดี 
1.1  แบบคำฟ้อง 
1.2  การยื่นฟ้อง
1.3  การตรวจฟ้อง
1.4  ฟ้องไม่ถูกต้อง
2.  การไต่สวนมูลฟ้อง
2.1  คดีที่ต้องมีการไต่สวนมูลฟ้อง
2.2  การไต่สวนมูลฟ้อง
3.  คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง
4.  การดำเนินกระบวนการพิจารณาขิงศาลในวันยื่นฟ้องหรือวันปิดนัดพิจารณาครั้งแรก
4.1  ตรวจสอบจำเลยและส่งสำเนาคำฟ้อง
4.2  สอบถามเรื่องทนายความ
4.3  สอบถามคำให้การจำเลย
4.4  การนัดตรวจพยานหลักฐาน 
5.  การสืบพยานในคดีที่จำเลยให้การรับสารภาพ
6.  การอ้างพยานหลักฐานและการยื่นบัญชีระบุพยาน 
6.1  พยานหลักฐานที่ใช้อ้างในศาล
6.2  การยื่นบัญชีระบุพยานและบัญชีระบุพยานเพิ่มเติม
6.3  พยานหลักฐานที่อยู่ในความครอบครองของบุคคลภายนอก
7.  การตรวจพยานหลักฐาน
8.  ศาลต้องนำรายงานและสำนวนสอบสวนหรือสำนวนการไต่สวนเป็นหลักในการแสวงหาข้อเท็จจริง
9.  การเรียกพยานหลักฐานหรือสั่งให้ตรวจสอบและรวบรวมพยานหลักฐานเพิ่มเติม 
10 การพิจารณาและสืบพยานต่อเนื่องติดต่อกัน
11 การสืบพยานบุคคล
12 ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญ 
13 การสืบพยานล่วงหน้า 
14 การพิจารณา และสืบพยานโดยเปิดเผย 
15 การแถลงปิดคดี 
16 การคุ้มครองพยาน 
ส่วนที่ 2 วิธีพิจารณาคดีตามข้อบังคับประธานศาลฎีกาฯ 
หมวด 1 บททั่วไป
1.  การติดต่อสื่อสารระหว่างศาลหรือกับคู่ความ
2.  การพืจารณาคดีโดยวิธีการประชุมทางจอภาพ 
หมวด 2 การพิจารณา พิพากษาคดีและวิธีการปฎิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานการตรวจฟ้องเบื้องต้นของเจ้าพนักงานคดี 
1.  การตรวจฟ้องเบื้องต้นของเจ้าพนักงานคดี 
2.  การตรวจสอบจำเลยของเจ้าพนักงานคดี 
3.  การตรวจสอบและรอการไต่สวนมูลฟ้อง 
4.  ศาลมอบหมายให้เจ้าพนักงานคดีตรวจสอบพยานหลักฐานก่อนถึงวันนัดตรวจพยานหลักฐาน 
5.  การสั่งให้คู่ความส่งพยานหลักฐานเพื่อตรวจสอบก่อนวันนัดตรวจพยานนัดหลักฐาน 
6.  โจทย์ไม่มาศาลในวันนัด
7.  การถอนฟ้อง
8.  การนำรายงานและสำนวนการสอบสวนหรือสำนวนการไต่สวนข้อเท้จจริงของโจทม์มาเป็นหลักในการแสวงหาข้อเท็จจริง
9.  ศาลมอบหมายหมายให้เจ้าพนักงานคดีตรวจสอบและรวบรวมพยานหลักฐานในประเด็นแห่งคดีและตรวจสอบพยานหลักฐาน 
10 การสืบพยานหลักฐานหรือความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ หรือผู้เชียวชาญ 
11 ลำดับการสืบพยาน 
12 ศาลอาจให้ถือบันทึกคำเบิกความชั้นไตส่วนมูลฟ้องเป็นคำเบิกความในชั้นพิจารณา 
13 การงดสืบพยาน 
14 วิธีดำเนินการของเจ้าพนักงานคดีในการช่วยเลือศาล บันทึกคำพยาน
15 การควบคุมและแนะนำคู่ความดำเนินคดีไปตามขั้นตอนกฎหมาย
16 การสืบพยานเพิ่มเติม 
บทเฉพาะกาล 
บทที่ 6 วิธีพิจารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ
ส่วนที่ 1 วิธีพิจารณาคดีตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพิจารณาพิพากษาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองฯ 
1.  ห้ามศาลอื่นรับคดีที่อยู่ในอำนาจของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ 
2.  ระบบการพิจารณาคดีและการบังคับใช้กฎหมาย 
3.  การพิจารณาคดีต้องยึดรายงานของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นหลัก 
4.  การออกหมายอาญาและหมายใดๆ 
5.  การจัดตั้งแผนกคดีอาญาฯ ในศาลฎีกา การแต่งตั้งผู้พิพากษาประจำแผนก 
6.  คดีที่อยู่ในอำนาจของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ 
7.  การฟ้องคดีของอัยการสุงสุด คณะกรรมการ ป.ป.ช และอายุความฟ้องคดี 
8.  องค์คณะพิจารณาพิพากษาคดี 
9.  อำนาจประธานศาลฎีกาในการออกข้อกำหนดฯกฎหมายที่นำมาบังคับใช้ 
10 การไต่สวนพยานหลักฐาน 
11 การพิพากษาคดีและการทำความเห็นในการวินิจฉัยชี้ขาดคดี 
11.1  การทำความเห็นวินิจฉัยชี้ขาดคดี 
11.2  การลงมติ
11.3  การทำคำสั่งหรือคำพิพากษา 
12 การจับ คุมขัง และการปล่อยชั่วคราว
13 ผู้มีอำนาจฟ้องคดี 
14 การฟ้องคดีกรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท
15 ห้ามไต่สวนมูลฟ้อง
16 การไต่สวนพยานหลักฐานต้องกระทำโดยเปิดเผย 
17 การสอบคำให้การจำเลยในวันนัดพิจารณาครั้งแรก
18 การยื่นบัญชีระบุพยาน 
19 การตรวจพยานหลักฐาน 
20 การกำหนดวันนัดไต่สวน 
21 วิธีการไต่สวนพยานบุคคล
22 การแถลงปิดคดี และการพิพากษาคดี 
23 การบังคับคดีและการเป็นที่สุดของคำพิพากษา 
24 บทเฉพาะกาล 
ส่วนที่ 2  ข้อกำหนดเกี่ยวกับการดำเนินคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ 
1.  การแก้ไขการดำเนินประบวนพิจารณาที่ไม่ถูกต้องของคู่ความ 
2.  การประกาศรายชื่อองค์คณะผู้พิพากษาที่รับเลือกจากที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา 
3.  วิธีการลงคะแนนเลือกองค์คณะผู้พิพากษา 
4.  การออกคำสั่งในคณะที่ยังไม่มีองค์คณะผู้พิพากษา
5.  การรายงานการสิ้นสุดหน้าที่ของผู้พิพากษาเพื่อให้มีการเลือกแทนที่ 
6.  การบรรยายฟ้องของโจทย์ 
7.  ศาลอาจเรียกพยานไต่สวนใรคดีที่จำเลยให้การรับสารภาพ
8.  ศาลมีอำนาจพิจารณาคดีลับหลังจำเลยได้ 
9.  ผู้มีสิทธิ์อยู่ในห้องพิจารณาในการพิจารณาลับ 
10 การอ้างอิงพยานที่อยู่ในความครอบครองของบุคคลภายนอก 
11 พยานหลักฐานที่เป็นข้อมูลที่บันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ 
12 การตรวจโต้แย้งพยานหลักฐาน 
13 การไต่สวนพยานบุคคล
14 การบันทึกการพิจารณาและการจดรายงานกระบวนพิจารณา
15 การไต่สวนพยานบุคคลโดยระบบการประชุมทางจอภาพ
16 การจัดทำสำเนาเอกสารยื่นต่อศาล 
17 การสืบพยานล่วงหน้า
18 โจทย์ได้รับยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียมศาล
ส่วนที่ 3 วิธีพิจารณาการดำเนินคดีต่อกรรมการ ป.ป.ช. ตาม พ.ร.ป. ว่าด้วยวิธีพิจารณา คดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
1.  การยื่นคำร้องเนื้อหาคำร้อง และองค์คณะพิจารณาพิพากษาคดี 
2.  การแต่งตั้งคณะกรรมการไต่สวน คุณสมบัติของคณะกรรมการไต่สวนและอำนาจหน้าที่
3.  ค่าตอบแทนกรรมการไต่สวน
4.  การสั่งให้กรรมการ ป.ป.ช. แสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน 
5.  กำหนดเวลาในการไต่สวนของคณะกรรมการไต่สวน 
6.  คณะกรรมการไต่สวนหาข้อเท็จจริงเพิ่มเติมขององค์คณะผู้พิพากษา
7.  การไต่สวนหาข้อเท็จจริงเพิ่มเติมขององค์คณะผู้พิพากษา
ส่วนที่ 4 วิธีพิจารณาการดำเนินคดีต่อกรรมการ ป.ป.ช.ตามข้อกำหนด เกี่ยวกับการดำเนินคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ 
1.  การแจ้งรายชื่อกรรมการไต่สวนให้ประธานวุฒิสภาและผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการไต่สวนทราบ 
2.  การเลือกประธานกรรมการในการประชุมกรรมการไต่สวนครั้งแรก
3.  เหตุคัดค้านกรรมการไต่สวน 
4.  การแจ้งข้อกล่าวหาและสั่งให้แสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน 
5.  กรรมการ ป.ป.ช. มีหน้าที่ต้องแสดงรายการทรัพย์สินหรือหนี้สิน
6.  ผลของการที่กรรมการ ป.ป.ช. ไม่แสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินฯ หรือไม่มาให้ไต่สวน 
7.  กรรมการ ป.ป.ช. มีสิทธินำทนายความเข้าฟังการชี้แจงข้อกล่าวหาและการให้ปากคำ 
8.  รายงานการไต่สวนของคณะกรรมการการไต่สวน 
บทที่ 7  การริบทรัพย์สิน 
1.  การริบทรัพย์สินในคดีอาญาทั่วไป 
1.1  ทรัพย์สินที่ต้องริบ 
1.2  กรณีที่ศาลมีดุลพินิจที่จะสั่งให้ริบหรือไม่ก็ได้ 
1.3  ทรัพย์สินที่ศาลต้องริบ เว้นแต่เป็นของผู้อื่นซึ่งมิได้รู้เห็นเป็นใจในการกระทำความผิด
2.  การริบทรัพย์สินในคดีศาลอาญาทุจริตฯ 
2.1  ทรัพย์สินที่ศาลมีอำนาจสั่งให้ริบได้ 
2.2  ทรัพย์สินที่ศาลต้องสั่งริบ
2.3  การริบทรัพย์ตามมูลค่า 
2.4  การให้ผู้เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินส่งข้อมูล 
2.5  การร้องขอให้ศาลสั่งให้คืนทรัพย์สินที่สั่งริบ 
3.  การริบทรัพย์สินในคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ 
บทที่ 8 การดำเนินคดีร้องขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน 
1.  การยื่นคำร้องขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินในศาลอาญาคดีทุจริตฯ 
1.1  การยื่นคำร้องขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะเหตุร่ำรวยผิดปกติ
1.1.1.  ความหมายร่ำรวยผิดปกติ
1.1.2  ผู้มีอำนาจยื่นคำร้อง 
1.1.3  ผู้ถูกร้อง 
1.2  การยื่นคำร้องขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะเหตุ ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
1.2.1  ความหมายการมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
1.2.2  ผู้มีอำนาจยื่นคำร้อง 
1.2.3  ผู้ถูกร้อง
1.3  วิธีพิจารณาคดีร้องขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน 
1.3.1  แบบเนื้อหาของคำร้อง
1.3.2  การประกาศคำร้อง และการร้องคัดค้าน 
1.3.3  ภาระการพิสูจน์ 
1.3.4  ค่าธรรมเนียมศาล 
2.  การยื่นคำร้องขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินในศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ 
2.1  การขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะเหตุร่ำรวยผิดปกติ
2.1.1  ผู้มีอำนาจยื่นคำร้อง
2.1.2  ผู้ถูกร้อง 
2.2  การร้องขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะเหตุมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
2.2.1  ผู้มีอำนาจยื่นคำร้อง
2.2.2  ผู้ถูกร้อง
2.3  วิธีพิจารณาคดีร้องขอให้รัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน 
2.3.1  แบบเนื้อหาของคำร้อง 
2.3.2  การประกาศคำร้องและการร้องคัดค้าน 
2.3.3  การไต่สวนคำร้อง 
2.3.4  ภาระการพิสูจน์ 
2.3.5  การได้รับยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียม 
บบที่ 9  การอุธรณ์ ฎีกา 
1.  การอุธรณ์ในคดีของศาลอาญาทุจริตฯ 
1.1  อุทรณ์ต่อศาลอุทรณ์แผนกคดีทุจริตฯ 
1.2  กำหนดเวลายื่นอุทรณ์และการส่งอุทรณ์ 
1.3  จำเลยต้องแสดงตนในการยื่นอุทรณ์
1.4  การส่งสำนวนไปศาลอุทรณ์ฯ ในกรณีที่ไม่มีการอุทรณ์
1.5  คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอุทรณ์เป็นที่สุด
1.6  ให้นำวิธีพิจารณาความแพ่งหรือวิธีพิจารณาความอาญามาใช้ 
1.7  การขอขยายระยะเวลาแสดงตนในการยื่นอุทรณ์และวิธีการแสดงตน 
1.8  จำเลยซึ่งไม่ถูกคุมขังยื่นอุทรณ์โดยไม่มาแสดงตน 
2.  การฎีกาในคดีของศาลอาญาคดีทุจริตฯ
2.1  การขออนุญาตฎีกา กำหนดเวลาและวิธีการยื่นคำร้อง
2.2  องค์คณะพิจารณาคำร้อง และการวินิจฉัยชี้ขาดคำร้อง
2.3  ปัญหาสำคัญที่ศาลฎีกาควรวินิจฉัย คำสั่งไม่รับฎีกา กับการเป็นที่สุดของคดีและรับรองให้ฎีกาของอัยการสูงสุด 
2.4  ข้อบังคับประธานศาลฎีกา 
2.4.1  จำเลยในคดีอาญาซึ่งไม่ได้ถูกคุมขังต้องมาแสดงตนต่อศาลในการยื่นฎีกา 
2.4.2  แบบคำร้อง 
2.4.3  การรับรองให้ฎีกา 
2.4.4  การตรวจสั่งคำร้องของศาลชั้นต้นและศาลฎีกา 
2.4.5  การขอขยายระยะเวลาในชั้นฎีกา 
2.4.6  การส่งสำเนาคำร้องให้คู่ความอีกฝ่าย และส่งคำร้องฎีกาและสำนวนไปศาลฎีกา 
2.4.7  การขอแก้ไขคำร้องหรือฎีกา 
2.4.8  กำหนดเวลาพิจารณาคำร้องขออนุญาตฎีกา 
2.4.9  ปัญหาสำคัญอื่นตามมาตรา 46 วรรค 2 (7)
2.4.10 คำสั่งอนุญาตให้ฎีกา และการยื่นคำแก้ฎีกา 
2.4.11 คำสั่งยกคำร้องขออนุญาติฎีกา 
2.4.12 การทำคำสั่งกรณีคู่ความหลายฝ่ายต่างยื่นคำร้อง 
2.4.13 องค์คณะพิพากษาคดี 
3.  การอุธรณ์ในคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ 
บทที่ 10 การบังคับคดี
1.  การบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งในคดีส่วนอาญาและในคดีส่วนแพ่ง 
1.1   การบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งในคดีส่วนอาญา และในส่วนคดีแพ่ง
1.2  การบังคับเอาแก่ทรัพย์สินอื่นของบุคคลซึ้งต้องชำระเงืนแทนมูลค่าที่ศาลสั่งริบหรือสั่งให้ตกเป็นของแผ่นดิน
1.3  การร้องขอให้ศาลสั่งคืนทรัพย์สิน 
2.  การบังคับคดีในคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ
ภาคผนวก 
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ พ.ศ.2559
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ พ.ศ.2559
ข้อบังคับของประธานศาลฎีกา ว่าด้วยวิธีการดำเนินคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ พ.ศ.2559
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ.2542
ข้อกำหนดเกี่ยวกับการดำเนินคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ.2543 

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://www.attorney285.com/product_571709_th


*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  http://www.attorney285.co.th/how2order *** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 
เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285   




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 


บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)


 

Sitemap 1 2 3