ผู้เขียน หัวข้อ: หลักกฎหมายการคลัง  (อ่าน 346 ครั้ง)

attorney285

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6360
    • ดูรายละเอียด
หลักกฎหมายการคลัง
« เมื่อ: มีนาคม 27, 2018, 09:19:55 pm »
หลักกฎหมายการคลัง



ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ https://www.attorney285.co.th/p/474
หลักกฎหมายการคลัง
ผู้แต่ง : ดร.เอื้ออารีย์ อิ้งจะนิล
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 1 : กันยายน 2558
จำนวนหน้า: 272 หน้า
ขนาด : A5
รูปแบบ : ปกอ่อน
 
ตำรากฎหมายการคลังฉบับนี้ มีการอ้างอิงข้อมูลและแนวทางกฎหมายหารคลังของประเทศฝรั่งเศสเป็นหลัก โดยมีกฎหมายการคลังของประเทศไทยเสริมเข้าในบางประเด็น เนื้อหาในเล่มจะอธิบายกฎหมายการคลังทั้งในส่วนของการคลังสาธารณะและกระบวนการงบประมาณ ซึ่งผู้เขียนได้ทำดัชนี(Index) ไว้ท้ายเล่มโดยโยงไปยังหมายเลขที่กำกับไว้ย่อหน้าต่างๆ เพื่อสะดวกในการสืบค้น
 
หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจวิชาการด้านกฎหมายการคลังเพื่อเป็นการพัฒนาความรู้ของศาสตร์ดังกล่าวในประเทศไทย รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลอีกชิ้นหนึ่งที่จะผลักดันให้ระบบการใช้จ่ายเงินของรัฐเกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชนอย่างแท้จริงต่อไป

สารบาญ 
บทนำ
1. นิยามของการคลังสาธารณะ
2. แนวคิดเรื่องศาสตร์ของการคลังสาธารณะ
2.1 ศาสตร์ด้านกฎหมายของการคลังสาธารณะ
2.3 ศาสตร์ด้านเศรษฐศาสตร์ของการคลังสาธารณะ
3. ขอบเขตของการคลังสาธารณะ
3.1 การคลังสาธารณะและมิติด้านการเมือง
3.2 การคลังสาธารณะและมิติด้านสังคม
3.3 การคลังสาธารณะและมิติด้านการบริหารจัดการงบประมาณ
4. ลักษณธเฉพาะของการคลังสาธารณะ
4.1 ความสอดคล้องของการคลังภาครัฐและเอกชน
4.2 ความแตกต่างของของการคลังภาครัฐและเอกชน
 
ภาคหนึ่ง
กฎหมายการคลัง ภาคการคลังสาธารณะ
บทที่ 1 พัฒนาการในประวัติศาสตร์ของการคลังสาธารณะ
1. การคลังสาธารณะยุคลาสสิก
1.1 แนวคิดพื้นฐานด้านการคลังสาธารณะยุคคลาสสิก
1.2 กรอบในทางเศรษฐกิจและการเมืองในยุคเสรีนิยม
1.3 ลักษณะของการคลังสาธารณะยุคคลาสสิก
1.3.1 การคลังสาธารณะต้องมีความเป็นกลาง
1.3.2 การคลังสาธารณะต้องจำกัดงบประมาณรายจ่าย
1.3.3 การคลังสาธารณะต้องรัษาความสมดุลของงบประมาณ
2. การคลังสาธารณะยุครัฐเข้าแทรกแซง
2.1 แนวคิดพื้นฐานของการคลังสาธารณะยุครัฐเข้าแทรกแซง
2.2 ลักษณะของการคลังสาธารณะตามแนวคิดการเข้าแทรกแซงของสำนักเคนส์
2.2.1 การคลังสาธารณะกับการเข้าแทรกแทรงงบประมาณของภาครัฐ
2.2.2 การคลังสาธารณะกับงบประมาณรายจ่ายสาธารณาที่เพิ่มขึ้น
2.2.3 การคลังสาธารณะและความหลากหลายของแหล่งที่มาของรายรับ
2.2.4 การคลังสาธารณะยอมรับการจัดทำงบประมาณแบบขาดดุล
3. การคลังสาธารณะยุคใหม่
4. พัฒนาการของการคลังสาธารณะในประเทศไทย
4.1 การคลังสาธารณะของประเทศไทยสมัยก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือสมบูรณาญาสิทธิราชย์
4.1.1 สมัยกรุงสุโขทัย
4.1.2 สมันกรุงศรีอยุธยาตอนต้น
4.1.3 การคลังสาธารณะในช่องรัตนโกสินทร์ตอนต้น
4.2 การคลังสาธารณะในช่วงภายหลังการเปลี่ยวแปลงการปกครองหรือเข้าสู่ยุคประชาธิปไตย
4.2.1 การคลังสาธารณะในช่องภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475
4.2.2 การคลังสาธารณะในช่าวภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทที่ 2 เครื่อมมือทางการคลัง
1. รายจ่ายสาธารณะ
1.1 ความหมายของรายจ่ายสาธารณะ
1.2 การแบ่งประเภทของรายจ่ายสาธารณะในทางเศรษฐกิจ
1.2.1 รายจ่ายสาธารณะในทางเศรษฐกิจ
1.2.2 รายจ่ายสาธารณาในทางกิจกรรม
1.3 การแบ่งประเภทของรายจ่ายสาธารณะ
1.3.1 การจำกัดรายจ่ายสาธารณะในทางกฎหมาย
1.3.2 การจำกัดรายจ่ายสาธารณะในทางเศรษฐกิจ
1.3.3 การจำกัดของรายจ่ายสาธารณะในทางการเมือง
1.4 รายจ่ายสาธารณะในประเทศไทย
1.4.1 งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามลักษณะงานและเศรษฐกิจ
1.4.2 งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามโครงสร้างงบประมาณ
1.4.3 งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวงและหน่วยงาน
1.4.4 งบประมาณที่จัดสรรให้แก่องคืการปกครองส่วนท้องถิ่น
2. รายได้สาธารณะ
2.1 ความหมายของรายได้สาธารณะประเภทภาษี
2.2 องค์ประกอบของภาษี
2.2.1 ภาษีต้องทำการจัดเก็บในรูปของเงินตรา
2.2.2 ภาษีเป็นการจัดเก็บที่มีลักษณะบังคับและถาวร
2.2.3 การจัดเก็บภาษีกระทำการจัดเก็บโดยปราศจากผลตอบแทนโดยตรงจากผู้จัดเก็บ
2.2.4 การจัอเก็บภาษีมีขึ้นเพื่อรองรับรายจ่ายสาธารณะ
2.3 ประเภทของการจัดเก็บภาษี
2.3.1 แบ่งตามหน่วยงานหรือองค์กรณืที่เก็บ
2.3.2 แบ่งตามการผลักภาษี ได้แก่ภาษีตรงและภาษีอ้อม
2.3.3 แบ่งตามลักษณะของเศรษฐกิจ
2.3.4 แบ่งตามลักษณะพื้นที่
3. หนี้ของสาธารณะ
3.1 ความหมายของหนี้สาธารณะ
3.2 ความแตกต่าวของหนี้สาธารณะกับหนี้ของภาคเอกชน
3.3 หนี้สาธารณะในประเทศไทย
 
ภาคสอง
กฎหมายการคลัง ภาคการงบประมาณ
บทที่ 3 หลักการพื้นฐานทางงบประมาณ
1. หลักการที่เกี่ยวข้องกับการนำเสนอกฎหมายงบประมาณ
1.1 หลักเอกภาพของงบประมาณ
1.1.1 ลักษณธทั่วไปของหลักเอกภาพของงบประมาณ
1.1.2 ข้อยกเว้นของหลักเอกภาพของงบประมาณ
1.2 หลักรายได้ต้องมีลักษณะทั่วไป
1.2.1 ลักษณะหลักรายได้ต้องมีลักษณะทั่วไป
1.2.2 กรณีของหลักรายได้ต้องมีลักษณะทั่วไป
1.3 หลักรายจ่ายต้องเฉพาะเจาะจง
1.3.1 ลักษณะหลักรายจ่ายต้องเฉพาะเจาะจง
1.3.2 ข้อยกเว้นหลักรายจ่ายต้องเฉพาะเจาะจง
2. หลักการที่เกี่ยวข้องกับระยะเลวลางบประมาณและเนื้อหา
2.1 หลักระยะเวลาหนึ่งปีงบประมาณ
2.1.1 ลักษณะของหลักระยะเวลาหนึ่งปีงบประมาณ
2.1.2 ข้อยกเว้นหลักระยะเวลาหนึ่งปีงบประมาณ
2.2 หลักดุลยภาพทางงบประมาณ
2.2.1 ลักษณะของหลักความสมดุลทางงบประมาณในช่วงเวลาต่างๆ
2.2.2 แนวคิดเรื่องสมดุล
2.3 หลักความจริงในทางงบประมาณ
2.3.1 ลักษณะหลักความจริงในทางงบประมาณ
2.3.2 การปรับใช้หลักความจริงในทางงบประมาณ
บทที่ 4 การจัดเตรียมงบประมาณ
1. ผู้มีบทบาทในการจัดเตรียมงบประมาณ
1.1 บทบาทหลักของฝ่ายบริหารในการจัดเตรียมงบประมาณ
1.2 ความสัมพันธ์ระหว่งรัฐบาลและรัฐสภาระหว่างขั้นตอนการจัดเตรียมงบประมาณ
2. ระบบการจัดสรรงบประมาณ
2.1 ระบบงบประมาณ
2.1.1 ระบบงบประมาณแบบแสดงรายการ
2.1.2 ระบบงบประมาณแบบแผนงาน
2.1.3 ระบบงบประมาณแบมุ่งเน้นผลงาน
2.1.4 ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
2.2 แนวทางการจัดสรรงบประมาณ
3. เนื้อหาและเอกสารงบประมาณ
3.1 กฎหมางบประมาณประจำปี
3.2 เอกสารประกอบการพิจารณาร่างกฎหมายงบประมาณ
3.2.1 เอกสารภาคผนวกภาคบังคับ
3.2.2 เอกสารภาคผนวกทั่วไปและเอกสารข้อมูลอื่นๆ
3.3 เอกสารงบประมาณของประเทศไทย
4.ปฏิทินการจัดทำงบประมาณ
4.1 ปฏิทินการจัดทำงบประมาณในประเทศฝั่งเศส
4.2 ปฏิทินการจัดทำงบประมาณในประเทศไทย
บทที่ 5 การพิจารณาอนุมัติงบประมาณ
1. อำนาจในการพิจรชารณาอนุมัติงบประมาณเป็นของรัฐสภา
2. การอภิปรายร่างกฎหมายงบประมาณ
3. กระบวนการในการอนุมัติงบประมาณ
3.1 การเสนอร่างกฎหมายงบประมาณประจำปี 
3.2 กรอบระยะเวลาในการพิจารณาอนุมัติกฎหมายงบประมาณ
4.การพิจารณาอนุมัติร่างกฎหมายงบประมาณของประเทศไทย
4.1 กรอบระยะเวลาในการพิจารณาอนุมัติกฎหมายงบประมาณ
4.2 ขั้นตอนการพิจารณาอนุมัติร่างกฎหมายงบประมาณ
5.  ข้อจำกัของอำนาจรัฐสภาต่อการอนุมัติร่างกฎหมายงบประมาณ
5.1 ข้อพิจารณาเรื่องอำนาจการปรัลแก้ไขร่างกฎหมายงบประมาณ
5.2 แนวคิดเรื่องอำนาจการปรับแก้ไขร่ายกฎหมายงบประมาณ
6. การยื่นเสนอร่างกฎหมายงบประมาณต่อคณะตุลาการรัฐธรรมนูญอย่างเป็นระบบ
บทที่ 6 การบริหารงบประมาณ
1. ขั้นตอนการบริหารงบประมาณ
2. ประเภทของงบประมาณรายจ่าย
2.1 งบประมาณรายจ่ายงบกลาง
2.2 งบรายจ่ายส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
3. การโอนหรือเปลี่ยนแปลงราบการงบประมาณรายจ่าย
3.1 การโอนงบประมาณรายจ่ายระหว่างกระทรวง
3.2 การโอนงบประมาณรายจ่างภายในกระทรวง
บทที่ 7 การควบคุมการตรวจสอบงบประมาณ
1. การควบคุมตรวจสอบโดยองค์กรทางการเมือง
1.1 ที่มาของการควบคุมตรวจสอบโดยรัฐสภา
1.2 รูปแบบการควบคุมตรวจสอบงบประมาณโดยรัฐสภา
2. การควบคุมตรวจสอบโดยองค์ฝ่ายบริหาร
2.1  การควบคุมตรวจสอบโดยองค์ฝ่ายบริหารในประเทศฝรั่งเศส
2.2 การควบคุมตรวจสอบโดยองค์ฝ่ายบริหารในประเทศไทย
2.2.1 สำนักงบประมาณ
2.2.2 กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
3. การควบคุมตรวจสอบในทางตุลาการ
3.1 การควบคุมตรวจสอบโดยศาลบัญชี
3.1.1 โครงสร้างของศาลบัญชี
3.1.2 อำนาจหน้าที่ของศาลบัญชี
3.2 การควบคุมตรวจสอบโดยศาลวินัยงบประมาณและการคลัง
3.2.1 โครงสร้างของศาลวินัยงบประมาณและการคลัง
3.2.2 อำนาจของศาลวินัยงบประมาณและการคลัง
3.3 การตรวจเงินแผ่นดินของไทยโดยองค์อิสระ
3.3.1 ที่มาขององค์กรตรวจเงินแผ่นดิน
3.3.2 อำนาจหน้าที่ขององค์ตรวจเงินแผ่นดิน

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "https://www.attorney285.co.th/category/61
*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  https://www.attorney285.co.th/how2order  
*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 

 
เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

 
อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285 




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 

บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)

 

Sitemap 1 2 3