ผู้เขียน หัวข้อ: คำอธิบายกฎหมายมรดก กฤษรัตน์ ศรีสว่าง  (อ่าน 199 ครั้ง)

attorney285

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6360
    • ดูรายละเอียด
คำอธิบายกฎหมายมรดก กฤษรัตน์ ศรีสว่าง
 


ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://attorney285.com/product.detail_742818_th_7094810

คำอธิบายกฎหมายมรดก กฤษรัตน์ ศรีสว่าง
ผู้แต่ง : กฤษรัตน์ ศรีสว่าง
ปีที่พิมพ์ ครั้งที่ 2 : กันยายน 2560
จำนวนหน้า: 224 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม. 
รูปแบบ : ปกอ่อน
9786162696206
 
ที่มาและการบังคับใช้กฎหมายลักษณะมรดก การตกทอดแห่งทรัพย์มรดก ทรัพย์มรดก ทายาท การเสียสิทธิในการรับมรดก สิทธิโดยชอบธรรมในการรับมรดก สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของญาติ สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของคู่สมรส การรับมรดกแทนที่ มรดกของพระภิกษุ พินัยกรรม ลักษณะของพินัยกรรม คุณสมบัติของผู้ทำพินัยกรรมและผู้รับพินัยกรรม ประเภทของผู้รับพินัยกรรม แบบของพินัยกรรม ผลของพินัยกรรม ความไม่เป็นผลของพินัยกรรมหรือข้อกำหนดของพินัยกรรม การตีความพินัยกรรม การจัดการและการปันทรัพย์มรดก การรวบรวมทรัพย์มรดก การแบ่งมรดก  
 
สารบาญ
 
ส่วนที่ 1 ที่มาและการบังคับใช้กฎหมายลักษณะมรดก
ส่วนที่ 1 ความทั่วไป
1. ที่มาของกฎหมายมรดก
1.1 กฎหมายสมัยกรุงสุโขทัย
1.2 กฎหมายตราสามดวง
1.3 กฎหมายมรดกก่อนการบังคับใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 6
1.4 กฎหมายมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 6
2. การบังคับใช้กฎหมายลักษณะมรดกในปัจจุบัน
ส่วนที่ 2 การตกทอดแห่งทรัพย์มรดก
บทที่ 1 เหตุการณ์ตกทอดแห่งทรัพย์มรดก
1.1 ข้อพิจารณาเบื้องต้น
1.2 เหตุแห่งการตกทอดแห่งทรัพย์มรดก
1.2.1 เหตุแห่งความตาย
1.2.1.1 ความตายตามธรรมชาติ
1.2.1.2 ความตายตามกฎหมาย
1.2.2 เหตุประการอื่น
บทที่ 2 ทรัพย์มรดก
2.1 ความหมายของทรัพย์มรดก
2.1.1 ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
2.1.1.1 ทรัพย์สิน
2.1.1.2 สิทธิ
2.1.1.3 หน้าที่และความรับผิด
2.1.2 ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดไม่เป็นการเฉพาะตัวของผู้ตายโดยแท้
2.1.2.1 ลักษณะเป็นการเฉพาะตัวของผู้ตายโดยสภาพ
2.1.2.2 ลักษณะเป็นการเฉพาะตัวของผู้ตายโดยกฎหมาย
3.1.3 ทรัพย์ สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดมีอยู่ก่อนหรือ
บทที่ 3 ทายาท
3.1 ความหมายของทายาท
3.2 ความสามารถในการเป็นทายาท
3.2.1 ความสามารถที่จะได้รับมรดก
3.2.2 ความสามารถในการเป็นทายาท
3.3 ประเภทของทายาท
3.3.1 ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมาย
3.3.1.1 ทายาทประเภทญาติ
3.3.1.2 ทายาทประเภทคู่สมรส
3.3.2 ทายาทที่มีสิทธิตามพินัยกรรม
3.4 ผุู้มีสิทธิรับมรดกตามกฎหมายกรณีพิเศษ
3.4.1 แผ่นดิน
3.4.1.1 แผ่นดินถือเป็นทายาทตามกฎหมายหรือไม่
3.4.1.2 แผ่นดินหมายถึงผู้ใด
3.4.1.3 มรดกตกทอดแก่แผ่นดินเมื่อใด
3.4.2 วัด
บทที่ 4 การเสียสิทธิในการรับมรดก
4.1 การตัดมิให้รับมรดก
4.1.1 บุคคลที่อาจถูกตัดมิให้รับมรดก
4.1.2 วิธีการตัดมิให้รับมรดก
4.1.2.1 การตัดมิให้รับมรดกโดยการทำพินัยกรรม
4.1.2.2 การตัดมิให้รับมรดกโดยทำเป็นหนังสือมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
4.1.3 ผลของการตัดมิให้รับมรดก
4.1.4 การถอนการตัดมิให้รับมรดก
4.2 การสละมรดก
4.2.1 บุคคลที่สามารถแสดงเจตนาสละมรดก
4.2.2 วิธีการแสดงเจตนาสละมรดก
4.2.2.1 การทำเป็นหนังสือมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
4.2.2.2 การทำเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ
4.2.3 เงื่อนไขของการสละมรดก
4.2.3.1 การสละมรดกแต่เพียงบางส่วนหรือทำโดยมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลา
4.2.3.2 การสละมรดกที่ต้องได้รับอนุมัติจากศาลเสียก่อน
4.2.3.3 การสละมรดกขณะที่เจ้าของมรดกยังมีชีวิตอยู่
4.2.4 ผลของการสละมรดก
4.2.4.1 ผู้สละมรดกไม่มีสิทธิได้รับมรดกจากเจ้ามรดก
4.2.4.2 ผู้สืบสันดานของทายาทคนนั้นมีสิทธิสืบมรดกแทนได้
4.2.4.3 ผู้ที่ได้สละมรดกไม่มีสิทธิในส่วนทรัพย์สินอันผู้สืบสันดานของตนได้รับมรดกแทน
4.2.4.4 ผู้สืบสันดานของผู้รับพินัยกรรมไม่มีสิทธิสืบมรดกแทนได้
4.2.4.5 กรณีทายาทโดยธรรมสละมรดกเป็นเหตุให้เจ้าหนี้ของตนเสียเปรียบ
4.2.4.6 กรปันส่วนแบ่งของผู้ที่ได้สละมรดกให้แก่ทายาทอื่น
4.3 การกำจัดมิให้รับมรดก
4.3.1 บุคคลที่อาจถูกกำจัด
4.3.1.1 ทายาทโดยธรรม
4.3.1.2 ผู้รับพินัยกรรมลักษณะทั่วไป
4.3.2 มูลเหตุการณ์กำจัดมิให้รับมรดก
4.3.2.1 กรณียักย้ายหรือปิดบังทรัพย์มรดก
4.3.2.2 กรณีกระทำการฐานเป็นผู้ไม่สมควร
4.3.3 ผลขอลการถูกกำจัดมิให้รับมรดก
4.3.3.1 ทายาทจะถูกกำจัดมิให้รับมรดกเพียงใด
4.3.3.2 การสืบมรดกของทายาทผู้ถูกกำจัดมิให้รับมรดก
4.3.4 การถอนการถูกกำจัดมิให้รับมรดก
4.4 การมิได้เรียกร้องทรัพย์มรดกภายในอายุความ
4.4.1 ความหมายของคดีมรดก
4.4.2 อายุความคดีมรดก
4.4.2.1 อายุความฟ้องมรดก
4.4.2.2 อายุความฟ้องเรียกตามข้อกำหนดพินัยกรรม
4.4.2.3 อายุความสิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้กองมรดก
4.4.3 สิทธิยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้
ส่วนที่ 3 สิทธิโดยธรรมในการรับมรดก
บทที่ 1 สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของผู้รับพินัยกรรม
1.1 ข้อพิจารณาเบื้องต้น
1.2 สิทธิในทรัพย์มรดกของผู้รับพินัยกรรม
1.2.1 ผู้รับพินัยกรรมมีสิทธิในทรัพย์มรดกของเจ้ามรดก
1.2.2 ผู้รับพินัยกรรมมีสิทธิในทรัพย์มรดกก่อนทายาทโดยธรรม
1.3 ส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของผู้รับพินัยกรรม
บทที่ 2 สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของญาติ
2.1 ข้อพิจารณาเบื้องต้น
2.2 สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของญาติ
2.2.1 สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของผู้สืบสันดาน
2.2.2 สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของบิดามารดา
2.2.3 สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
2.2.4 สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของพี่น้องร่วมบิดาหรือมารดาเดียวกัน
2.2.5 สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของปู่ ย่า ตาและยาย
2.2.6 สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของลุง ป้า น้า และอา
บทที่ 3 สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของคู่สมรส
3.1 ข้อพิจารณาเบื้องต้น
3.2 สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
3.2.1 การคิดส่วนแบ่งและการปันทรัพย์สินระหว่างผู้ตายกับคู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่
3.2.2 สิทธิและหน้าที่ของคู่สมรสในกรณีที่เป็นผู้รับประโยชน์ตามสัญญาประกันชีวิต
3.2.3 สิทธิและหน้าที่ของคู่สมรสที่เป็นคู่สัญญารับเงินรายปี
3.3 สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของคู่สมรส
3.3.1 ข้อพิจารณาเบื้องต้น
3.3.2 สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของคู่สมรสตามบรรพ 5
3.3.3 สิทธิและส่วนแบ่งในทรัพย์มรดกของคู่สมรสก่อนบรรพ 5
บทที่ 4 การรับมรดกแทนที่
4.1 ข้อพิจารณาเบื้องต้น
4.2 ผู้มีสิทธิรับมรดกแทนที่
4.2.1 ผู้สืบสันดานของทายาท
4.2.2 ผู้สืบสันดานของผู้สืบสันดาน
4.3 เหตุแห่งการรับมรดกแทนที่
4.3.1 บุคคลซึ่งจะเป็นทายาทตามมาตรา 1629 (1) (3) (4) หรือ (6) ถึงแก่ความตายหรือถูกกำจัดมิให้รับมรดก
4.3.2 บุคคลดังกล่าวถึงแก่ความตายหรือถูกกำจัดมิให้รับมรดกก่อนเจ้ามรดกตาย
4.4 เงื่อนไขของการรับมรดกแทนที่
4.4.1 ผู้สืบสันดานของทายาทโดยธรรมตามมาตรา 1629 (2) หรือ (5) ไม่สามารถรับมรดกแทนที่ได้
4.4.1.1 กรณีทายาทโดยธรรมลำดับบิดามารดา
4.4.1.2 กรณีทายาทโดยธรรมลำดับปู่ ย่า ตา และยาย
4.4.2 การับมรดกแทนที่บังคับระหว่างทายาทโดยธรรม
4.4.3 สิทธิในการรับมรดกแทนที่มีเฉพาะผู้สืบสันดานโดยตรง
4.4.4 ผู้สืบสันดานต้องมีสิทธิบริบูรณ์ในการรับมรดกแทนที่
4.4.5 สิทธิในการรับมรดกแทนที่ของผู้สละมรดก
4.5 ผลของการรับมรดกแทนที่
4.5.1 สิทธิของผู้สืบสันดานในการรับมรดกแทนที่
4.5.2 ส่วนแบ่งของผู้สืบสันดานในการรับมรดกแทนที่
บทที่ 5 มรดกของพระภิกษุ
5.1 สิทธิของทรัพย์สินขิงพระภิกษุ
5.1.1 ทรัพย์สินของพระภิกษุที่ได้มาก่อนอุปสมบทเป็นพระภิกษุ
5.1.2 ทรัพย์สินของพระภิกษุที่ได้มาในระหว่างที่อยู่ในสมณเพศ
5.2 สิทธิฟ้องคดีเรียกเอาทรัพย์มรดกของพระภิกษุ
ส่วนที่ 4 พินัยกรรม
บทที่ 1 ลักษณะของพินัยกรรม
1.1 พินัยกรรมเป็นคำส่งกำหนดการเผื่อตาย
1.2 ข้อกำหนดในพินัยกรรมหรือคำสั่งนั้นเกี่ยวกับทรัพย์สินหรือการอื่นๆ
1.3 ทรัพย์สินในข้อกำหนดในพินัยกรรมเป็นของผู้ทำพินัยกรรม
บทที่ 2 คุณสมบัติขิงผู้ทำพินัยกรรมและผู้รับพินัยกรรม
2.1 กรณีผู้ทำพินัยกรรม
2.1.1 ผู้เยาว์
2.1.2 คนไร้ความสามารถหรือคนวิกลจริต
2.1.3 คนเสมือนไร้ความสามารถ
2.1.4 คู่สมรส
2.1.5 ผู้อยู่ในความปกครอง
2.2 กรณีผู้รับพินัยกรรม
บทที่ 3 ประเภทของผู้รับพินัยกรรม
3.1 ผู้รับพินัยกรรมลักษณะทั่วไป
3.1.1 ความหมายและสิทธิของผู้รับพินัยกรรมลักษณะทั่วไป
3.1.2 ความรับผิดของผู้รับพินัยกรรมลักษณะทั่วไป
3.2 ผู้รับพินัยกรรมลักษณะเฉพาะ
3.2.1 ความหมายและสิทธิของผู้รับพินัยกรรมลักษณะเฉพาะ
3.2.2 ความรับผิดของผู้รับพินัยกรรมลักษณะเฉพาะ
บทที่ 4 แบบของพินัยกรรม
4.1 พินัยกรรมแบบธรรมดา
4.1.1 วิธีการทำพินัยกรรมแบบธรรมดา
4.1.2 การแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงพินัยกรรมแบบธรรมดา
4.2 พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
4.2.1 วิธีการทำพินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
4.2.2 การแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงพินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
4.3 พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง
4.3.1 วิธีการทำพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง
4.3.2 การแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง
4.3.3 หน้าที่ของเจ้าพนักงาน
4.4 พินัยกรรมแบบเอกสารลับ
4.4.1 วิธีการทำพินัยกรรมแบบเอกสารลับ
4.4.2 การแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงพินัยกรรมแบบเอกสารลับ
4.5 พินัยกรรมแบบวาจา
4.5.1 วิธีการทำพินัยกรรมแบบวาจา
4.5.2 ผลของพินัยกรรมแบบวาจา
4.6 พินัยกรรมสำหรับคนในบังคับไทยที่อยู่ในต่างประเทศ
4.7 พินัยกรรมสำหรับบุคคลที่รับราชการทหารหรือทำการเกี่ยวข้องอยู่กับราชการทหารในภาวะการรบหรือการสงคราม
บทที่ 5 ผลของพินัยกรรม
5.1 ข้อพิจารณาเบื้องต้น
5.2 เหตุบางประการเกี่ยวกับผลของพินัยกรรม
5.2.1 พินัยกรรมมีเงื่อนไข
5.2.1.1 พินัยกรรมมีเงื่อนไขบังคับก่อน
5.2.1.2 พินัยกรรมมีเงื่อนไขบังคับหลัง
5.2.2 พินัยกรรมที่มีเงื่อนไขเวลา
5.2.2.1 ความหมายพินัยกรรมที่มีเงื่อนไขเวลา
5.2.2.2 ผลของพินัยกรรมที่มีเงื่อนไข
5.2.3 พินัยกรรมเกี่ยวกับการตั้งผู้จัดการทรัพย์สิน
5.2.4 พินัยกรรมก่อตั้งมูลนิธิ
5.2.5 พินัยกรรมปลดหนี้ให้ลูก
5.2.8 พินัยกรรมผู้ปกครองทรัพย์
5.2.8.1 การทำพินัยกรรมตั้งผู้ปกครองทรัพย์
5.2.8.2 วิธีการตั้งผู้ปกครองทรัพย์
5.2.8.3 บุคคลซึ่งจะเป็นผู้ปกครองทรัพย์
5.2.8.4 ระยะเวลาของการเป็นผู้ปกครองทรัพย์
5.2.8.5 ผลของความเป็นผู้ปกครองทรัพย์
บทที่ 6 ความไม่เป็นผลของพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
6.1 การเพิกถอนพินัยกรรม
6.1.1 วิธีการเพิกถอนพินัยกรรม
6.1.1.1 การทำพินัยกรรมฉบับใหม่
6.1.1.2 ผู้ทำพินัยกรรมขีดฆ่าหรือทำลายพินัยกรรม
6.1.1.3 ผู้ทำพินัยกรรมโอนหรือทำลายทรัพย์สินอันเป็นวัตถุแห่งข้อกำหนด
6.1.2 เวลาเพิกถอนพินัยกรรม
6.2 การตกไปแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
6.2.1 ความหมายของการตกไปแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
6.2.2 เหตุแห่งการตกไปแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
6.2.2.1 ผู้รับพินัยกรรมตายก่อนผู้ทำพินัยกรรม
6.2.2.2 ข้อกำหนดพินัยกรรมมีเงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่ง
6.2.2.3 ผู้รับพินัยกรรมบอกสละพินัยกรรม
6.2.2.4 ทรัพย์สินทั้งหมดที่ยกให้สูญหายหรือถูกทำลาย
6.3 ความเสียเปล่าแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
6.3.1 ความหมายของความเสียเปล่าแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
6.3.2 เหตุแห่งความเสียเปล่าแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
6.3.2.1 พินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรมที่มีข้อกำหนดห้ามโอน
6.3.2.2 พินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรมที่มีผลโมฆะ
6.3.2.3 พินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรมที่มีข้อกำหนดให้จำหน่ายทรัพย์สินที่ยกให้แก่บุคคลอื่น
6.3.2.4 พินัยกรรมที่เป็นโมฆียะ
บทที่ 7 การตีความพินัยกรรม
ส่วนที่ 5 การจัดการและการปันทรัพย์มรดก
บทที่ 1 ผู้จัดการมรดก
1.1 บุคคลซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้จัดการมรดก
1.1.1 ผู้จัดการมรดกต้องมีความสามารถตามกฎหมาย
1.1.2 ข้อพิจารณาในการแต่งตั้งผู้จัดการมรดกโดยศาล
1.2 การตั้งผู้จัดการมรดก
1.2.1 วิธีการตั้งผู้จัดการมรดก
1.2.1.1 การแต่งตั้งผู้จัดการมรดกโดยพินัยกรรม
1.2.1.2 การแต่งตั้งผู้จัดการมรดกโดยคำสั่งศาล
1.2.2 ความมีผลของการแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
1.3 สิทธิและหน้าที่ของผู้จัดการมรดก
1.3.1 สิทธิของผู้จัดการมรดก
1.3.2 หน้าที่ของผู้จัดการมรดก
1.3.2.1 ผู้จัดการมรดกต้องจัดการมรดกด้วยตนเอง
1.3.2.2 ผู้จัดการมรดกทำนิติกรรมที่ตนเองมีส่วนได้เสียเป็นปฏิปักษ์ต่อกองมรดกไม่ได้
1.3.2.3 ผู้จัดการมรดกต้องจัดการมรดกโดยเสียงข้างมาก
1.3.2.4 การจัดทำบัญชีมรดก
1.3.2.5 การจัดการศพของเจ้ามรดก
1.3.2.6 การสืบหารตัวผู้มีส่วนได้เสีย
1.3.2.7 การเรียกเก็บหนี้สิน
1.3.2.8 การทำรายงานแสดงบัญชีการจัดการมรดกและการแบ่งปันมรดก
1.4 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้จัดการมรดกกับทายาทและบุคคลภายนอก
1.4.1 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้จัดการมรดกกับทายาท
1.4.2 ความสัมพันธ์ระหว่างทายาทกับบุคคลภายนอก
1.4.3 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้จัดการมรดกกับบุคคลภายนอก
1.5 การสิ้นสุดความเป็นผู้จัดการมรดก
1.6 อายุความฟ้องคดีเกี่ยวกับผู้จัดการมรดก
บทที่ 2 การรวบรวมทรัพย์มรดกและการชำระหนี้มรดก
2.1 การรวบรวมทรัพย์มรดก
2.1.1 วิธีการรวบรวมทรัพย์มรดก
2.1.1.1 ผู้จัดการมรดกเรียกให้ทายาทส่งมอบทรัพย์มรดกที่ครอบครองอยู่
2.1.1.2 ผุ้จัดการมรดกทวงถามลูกหนี้แห่งกองมรดกให้ชำระหนี้
2.1.1.3 ผู้จัดการมรดกสืบหาทรัพย์ของเจ้ามรดก
2.1.2 ระยะเวลาในการรวบรวมทรัพย์มรดก
2.2 การชำระหนี้กองมรดก
2.2.1 สิทธิของเจ้าหนี้ที่จะฟ้องบังคับชำระหนี้
2.2.2 ลำดับของหนี้ที่ได้รับชำระ
2.2.3 ลำดับของทรัพย์มรดกที่จะได้รับชำระหนี้
2.2.3.1 กรณีเจ้ามรดกหรือกฎหมายได้กำหนดลำดับของทรัพย์มรดกที่จะนำออดมาชำระหนี้
2.2.3.2 กรณีเจ้ามรดกหรือกฎหมายมิได้กำหนดลำดับของทรัพย์มรดกที่จะนะอกชำระหนี้
2.2.4 วิธีชำระหนี้กองมรดก
2.2.4.1 การชำระหนี้โดยการชำระราคาหรือส่งมอบทรัพย์สิน
2.2.4.2 การชำระหนี้โดยขายทอดตลาดหรืตีราคาทรัพย์
2.2.4.3 การชำระหนี้โดยให้เจ้าหนี้เป็นผู้รับประโยชน์ตามสัญญาประกันชีวิต
2.2.4.4 การชำระหนี้โดยลูกหนี้ทำพินัยกรรมยกทรัพย์สินให้
2.2.5 ผลของการชำระหนี้
บทที่ 3 การแบ่งมรดก
3.1 สิทธิและหน้าที่เกี่ยวกับทรัพย์มรดก
3.1.1 สิทธิและหน้าที่เกี่ยวกับทรัพย์มรดกร่วมกัน
3.1.2 ทายาทมรส่วนเท่ากันในกองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง
3.1.3 การไม่เสื่อมสิทธิในการแบ่งปันทรัพย์มรดกของทายาท
3.2 วิธีการแบ่งปันทรัพย์มรดก
3.2.1 ทายาทต่างเข้าครอบครองทรัพย์มรดกเป็นส่วนสัดตามที่ตกลงกัน
3.2.2 การขายทรัพย์มรดกเอาเงินแบ่งกัน
3.2.3 การทำสัญญาแบ่งทรัพย์มรดกไว้ต่อกัน


ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://attorney285.com/product_742818_th

*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 
**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  https://www.attorney285.co.th/how2order  
*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 

 
เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

 
อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285 




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 

บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)

 

Sitemap 1 2 3