ผู้เขียน หัวข้อ: เห็ดหลินมีประโยชน์ต่อสุขภาพที่อาจเป็นไปได้จริงหรือ?  (อ่าน 304 ครั้ง)

gggggg020202

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 33
    • ดูรายละเอียด

สมุนไพร
เห็ดหลินมีประโยชน์ต่อสุขภาพที่อาจเป็นไปได้จริงหรือ?
แม้มีการค้นคว้าทดลองมากมายเกี่ยวกับคุณสมบัติและคุณประโยชน์ที่อาจเป็นไปได้ของเห็ดหลินจือ
แต่ในปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานหรือข้อพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ที่แน่ชัดถึงคุณลักษณะและคุณประโยชน์ที่อาจเป็นไปได้ของเห็ดหลินจือแต่ ในปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานหรือข้อพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ที่แน่ชัดถึงคุณลักษณะและประสิทธิผลด้านใดๆ ดังนั้น ผู้บริโภคควรศึกษาข้อมูลของสมุนไพร เห็ดหลินจือ ปริมาณและวิธีการบริโภคที่เหมาะสม รวมทั้งข้อจำกัดต่างๆ และปัจจัยทางสุขภาพของตนให้ดีก่อนการบริโภค
ตัวอย่างงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับเห็ดหลินจือที่อาจมีผลต่อสุขภาพ
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
งานค้นคว้าหนึ่งได้ทดลองเห็ดหลินจือหาประสิทธิผลและความปลอดภัยของการบริโภคอาหารเสริมเห็ดหลืนจือในผู้ป่วย โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ จำนวน 32 ราย  ผลลัพธ์คือ เห็ดหลินจืออาจมีสรรพคุณในด้านการระงับอาการปวด สมุนไพรปลอดภัยต่อการรับประทานเข้าสู่ร่างกายและไม่มีผลข้างเคียง อย่างไรก็ตาม กลับไม่ปรากฏผลที่มีนัยสำคัญในการต้านปฎิกิริยาออกซิเดชัน การต้านการอักเสบ หรือผลการปรับระบบภูมิคุ้มกันแต่อย่างใด


สมุนไพร อย่างไรก็ตามฤทธิ์ฆ่าเซลล์มะเร็งของมะเร็งของสารสกัดเห็ดหลินจือที่กล่าวไปนั้น ยังคงเป็นเพียงผลการทดลองในหลอดทดลองเท่านั้น ขณะนี้คณะแพทย์ศาสตร์ของมหาลัยเชียงใหม่กำลังวิจัยผลที่มีต่อผู้ป่วยโรคมะเร็วจริงๆและคาดว่าผลการศึกษานี้คงจะตีแผ่ให้เพื่อนๆได้ทราบกันในเร็วๆนี้ค่ะ แต่ตอนนี้มีรายงานการศึกษาจากประเทศจีนพบว่า เห็ดหลินจือสามารถเสริมภูมิคุ้มกันได้จริงในผู้ป่วยมะเล็กลำไส้ใหญ่ ปอด และผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งขั้นลุกลาม โดยไม่มีผลข้างเคียงและสามารถใช้ได้ติดต่อกันเป็นเวลานานได้อย่างปลอดภัย อย่างไรก็ตามในประเทศไทย การใช้เห็ดหลินจือในการรักษาโรคมะเร็งนั้นยังไม่ใช่ช่องทางหลักในการรักษา เน้นเรื่องเสริมภูมิต้านทานมากกว่า

เพิ่มสมรรถภาพร่างกาย
มีการทดลองที่ทดสอบประสิทธิภาพของเห็ดหลินจือในด้านการเพิ่มสรรถภาพของร่างกาย โดยได้ ทดลองในผู้ป่วยโรคปวดกล้ามเนื้อไฟโปรไมอัลเจีย (Fibromyalgia)เพศหญิงจำนวน 64 ราย ตลอดระยะเวลาการทดลอง 6 สัปดาห์ ผู้ป่วยบริโภคเห็ดหลินจือปริมาณ 6 กรัม/วัน จากนั้นจึงทดสอบสมรรถภาพร่างกายของผู้ป่วย ผลการทดลองและวางแผนการรักษาผู้ป่วยโรคนี้ต่อไป แต่ยังคงขาดหลักฐานสนับสนุนที่ชัดเจน จึงควรมีการศึกษาค้นคว้าในด้าน เพื่อหาหลักฐานและข้อพิสูจน์ที่แน่ชัดถึงประสิทธิผลของเห็ดหลินจือต่อไป
จากการวิเคราะห์ผลการทดลองทางการแพทย์ 5 ราการ ซึ่งมีผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิด 2 เข้าร่วมทดลองกว่า 398 รายพบว่า เห็ดหลินจือไม่มีผลทางการรักษาในเชิงการลดระดับน้ำตาลในเลือดไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่มีคุณภาพเพียงพอจะสนับสนุนผลทางการรักษาเหล่านั้น และไม่มีข้อมูลที่เพียงพอในการยืนยันด้านความปลอดภัยจากการบริโภคเห็ดหลินจือเช่นเดียวกัน โดยหนึ่งในงานวิจัยเหล่านั้น ได้แสดงถึงผลข้างเคียงจากการบริโภคเห็ดหลินจือในผู้ป่วยบางราย เป็นอาการคลื่นใส้ ท้องร่วง หรือท้องผูก
ดังนั้นจึงควรมีการค้นคว้าทดลองถึงประสิทธิภาพของเห็ดหลินจือในการลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆเหล่านี้เพื่อป้องกันและการรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจต่อไป รวมทั้งให้ได้ความกระจ่างชัดดเจนในด้านดังกล่าวมากยิ่งขึ้น อันเป็นประโยชน์ต่อแนวทางการรักษาป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจและอาการต่างๆที่เกี่ยวข้องต่อไปในอนาคต
ปริมาณที่เหมาะสมในการบริโรคเห็ดหลินจืออย่างชัดเจน เนื่องประสิทธิผลและผลข้างคียงจากการบริโภค ดังนั้น ผู้บริโภค ควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเห็ดหลินจือ และปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อนการบริโรค เพราะแม้เห็ดหลินจือในแต่ละรูปแบบจะเป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ แต่สารเคมีและส่วนประต่างอาจส่งผลข้างเคียงที่เป็นอันตรายต่อร่างกายได้เช่นกัน
โดยทั่วไป ปริมาณการบริโภคเห็ดหลินจือ/วันได้แก่
-สมุนไพร เห็ดหลินจืออบแห้ง ไม่ควรบริโภคเกิน 1.5-9 กรัม/วัน
-ผงสารสกัดเห็ดหลินจือ ไม่ควรบริโภคเกิน 1-1.5 กรัม
-สารละลายเห็ดหลินจือ ไม่ควรบริโภคเกิน 1 มิลลิลิตร/วัน
ความปลอดภัยในการบริโภคเห็ดหลินจือ
แม้จะมีการพิสูจน์ถึงคุณประโยชน์ในบางด้านที่อาจเกิดขึ้นได้จากการบริโภคเห็ดหลินจือ แต่ผู้บริโภคก็ควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเห็ดหลินจือ และปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อนการบริโภค โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ควรระมัดระวังในด้านปริมาณและรูปแบบเห็ดหลินจือที่บริโภค เพราะอาจเกิดผลข้างเคียงต่อสุขภาพได้ในภายหลัง
ในเห็ดหลินจือมีสารอาหารที่อาจส่งผลดีต่อสุขภาพมากมาย จำพวกเส้นใยต่างๆ โปรตีนคาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามินและแร่ธาตุบางชนิด เชเนแคลเซียม โพแทสเซียม ฟอสฟอรัสแมกนีเซียม เซเลเนียม ธาตุเหล็ก สังกะสี มองแดง สารโมเลกุลชีวภาพที่สำคัญ เย่างสเตียรอยด์(Steroids) เทอร์ปีนอยด์ (Terpenoide) นิวคลีโอไทด์ (Nucleotides) ไกลโคโปรตีน (Glycoproteins)พอลิแซ็กคาไรค์ (Polrsacchayides) และสารอนุพันธ์อื่นๆโดยเฉพาะกรดอะมิโนไลซีน (Lysine) และลิวซีน (Leucine)ด้วยเหตุนี้ มีบางคนหรือในบางวัฒนธรรมนำเห็ดหลินจือมาประกอบอาหารและแปรรูปเพื่อการบริโภค

Tags : สมุนไพรเห็ดหลินจือ

 

Sitemap 1 2 3