ผู้เขียน หัวข้อ: “มะเร็งช่องปาก” น่ากลัวกว่าที่คิด ไม่รีบรักษา เสี่ยงหน้าทะลุ  (อ่าน 361 ครั้ง)

godgiseo

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 4
    • ดูรายละเอียด


ศ.นพ.ศุภกร โรจนนินทร์ ศัลยแพทย์หัวหน้าศูนย์เต้านม และศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางศัลยศาสตร์มะเร็งวิทยา และศัลยกรรม ศีรษะ คอ และเต้านม ระบุว่า ย้อนไปเมื่อหลายสิบปีก่อน มะเร็งช่องปากเป็นมะเร็งอันดับต้นๆ ที่พบผู้ป่วยในไทยมากที่สุด เหตุจากคนไทยที่ยังติดการเคี้ยวหมากพลูอยู่เป็นประจำ และผู้ชายก็ติดดื่มแอลกอฮอล์ และสูบบุหรี่ แต่เมื่อเวลาผ่านไป การดูแลสุขภาพช่องปากของคนไทยเริ่มดีขึ้น จึงเริ่มมีอัตราการพบผู้ป่วยมะเร็งช่องปากในไทยลดลง

แต่นั่นไม่ได้หมายถึงว่า dooball จะไม่พบผู้ป่วยมะเร็งช่องปากในไทยเลย เพราะยังมีสาเหตุอื่นๆ อีกมากมายที่ทำให้คนไทยเสี่ยงโรคมะเร็งช่องปาก โดยที่เราอาจไม่ทันระวังตัวก็ได้

 

ปัจจัยเสี่ยง มะเร็งช่องปาก

1. ติดเชื้อไวรัสบางชนิด เช่น HPV ซึ่งเป็นไวรัสชนิดเดียวกันกับมะเร็งปากมดลูก โดยอาจเป็นการติดเชื้อผ่านการมีเพศสัมพันธ์ผ่านช่องปาก (oral sex)

2. สูบบุหรี่ คนที่สูบบุหรี่มีความเสี่ยงโรคมะเร็งช่องปากมากกว่าคนปกติ 2 เท่า

3. ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ดูบอลสด ทำให้ช่องปากระคายเคือง

4. มีการอักเสบของช่องปากบ่อยๆ เช่น มีแผลในช่องปาก ร้อนใน เหงือกบวม อักเสบ

5. ใส่ฟันปลอมที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือไม่พอดีกับขนาดของปาก จนทำให้เกิดอาการบาดเจ็บซ้ำๆ
 

อาการของมะเร็งช่องปาก

อาการของมะเร็งช่องปากจะมีลักษณะของแผลในช่องปากคล้ายกับร้อนใน แต่จะแตกต่างตรงที่ จะเป็นแผลอยู่นานมากกว่า 1 เดือนไม่ยอมหาย ดูบอลฟรี อาจจะมีอาการเจ็บปวดไม่มากนัก แต่ไม่ดีขึ้น นอกจากนี้อาจพบลักษณะของแผลที่มีขอบแผลแข็งเหมือนหงอนไก่ ดอกกะหล่ำ หากปล่อยไว้ไม่รักษา แผลอาจมีความรุนแรงมากขึ้นจนมีขนาดใหญ่ขึ้น ลึกขึ้น และลุกลามจนอาจขยายไปกัดกินส่วนอื่น เช่น เหงือก กราม กระพุ้งแก้ม ต่อมน้ำเหลืองที่คอ หรือกัดทะลุออกมายังผิวหน้าได้

 

การป้องกันโรคมะเร็งช่องปาก

ควรดูแล และใส่ใจความสะอาดภายในปากให้ดี ไม่ใส่ฟันปลอม หรืออุปกรณ์จัดฟันที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่พอดีฟัน และหากมีแผลในปากควรรีบรักษาให้หาย หากแผลไม่ดีขึ้นใน 1 สัปดาห์ ควรรีบพบแพทย์เพื่อตรวจให้ละเอียดอีกครั้ง นอกจากนี้ควรลดการดื่มแอลกอฮอล์ งดสูบบุหรี่ และงดการมีเพศสัมพันธ์ผ่านช่องปาก (oral sex)


ขอขอบคุณเว็บดูบอล

ข้อมูล :ศ.นพ.ศุภกร โรจนนินทร์ ศัลยแพทย์หัวหน้าศูนย์เต้านม และศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางศัลยศาสตร์มะเร็งวิทยา และศัลยกรรม ศีรษะ คอ และเต้านม โรงพยาบาลพญาไท

ภาพ :iStock

 

Sitemap 1 2 3